⠵⠑⠝⠚⠊(@zenjigame)さんの人気ツイート(古い順)

151
รีวิว: การเรียนสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาที่ ฬ เผื่อใครจะใช้ประกอบการตัดสินใจเข้าเรียนที่สาขานี้ครับ minimore.com/b/b5Kvx/3
152
#มีศัพท์textมาเสนอ escalate = ทำให้มากขึ้น, บานปลาย prefigure = คาดการณ์ไว้ outlandish = แปลกประหลาด (จากค่านิยม/บรรทัดฐานคนในพื้นที่) nomadic = เรร่อน, ไม่อยู่เป็นที่ husbandry = กสิกรรม, การทำไร่ไถนา intransigent = เปลี่ยนแปลงยาก impasse = ทางตัน residual = ซึ่งเป็นเศษตกค้าง
153
ประกาศรายละเอียด+ขั้นตอนการสมัครรัฐศาสตร์ ฬ inter ในหลักสูตร Politics and Global Studies and มาแล้วนะครับ ตามรูปเลย
154
มีความคิดอยากเขียนเรื่อง How to + Tips and tecniques การเขียนโครงร่างวิจัย (proposal) เพื่อเอาไว้ใช้ทำ study plan ส่งทุนต่างๆ / ทำโปรเจ็คจบ / เขียนธีสิส มี content ละ แต่จะมีเวลาเขียนให้เสร็จไหมอีกเรื่อง แต่ตะมีใครอยากอ่านก่อน 😂😂
155
ใครกำลังจะเขียน study plan ขอทุนไปเรียนต่อ กำลังเรียนป.โท ป.เอก ทำวิทยานิพนธ์ เชิญเลยครับ บทความที่ผมเขียนเป็นการบอกเล่าเก้าสิบการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อใช้ในการเรียนและเรียนต่อ หวังว่าจะเป็นประโยชนนะครับ minimore.com/b/b5Kvx/4
156
วันนี้คุยกับอ.ที่ภาคเรื่องการยกตัวอย่าง อ.บอกว่าหลังๆ นิสิตเขียนแนว one case explains all เยอะมาก คือยกเคสสุดโต่งที่ตรงและสะท้อนแนวคิดนั้นๆ แต่ outlier แบบค.ถี่ในการเจอต่ำกว่าภาพอื่นๆ มันตรงทฤษฎี แต่ไม่มีพลังในการอธิบายภาพทั้วไปในประเด็นนั้น เลยยากจะเคลม validity อยู่ดี
157
#มีศัพท์textมาเสนอ innocuous = ไม่มีพิษมีภัย, ไม่มีเจตนาแอบแฝง unrelenting = (กับลักษณะของคน) ที่ไม่ยอมอ่อนข้อ, ที่ไม่ปราณี (กับสถานการณ์) ที่ไม่หยุดหย่อน hyperbole = คำพูดที่กล่าวเกินจริง, อติพจน์ far-fetched = ไกลจากความจริง, ซึ่งดูเป็นไปได้ยาก Topple = โค่นล้ม, คะมำ
158
#มีศัพท์textมาเสนอ intertwine = เกี่ยวเนื่อง, พัวพัน resurgence = การหวนคืนมา, การกลับมาผงาดอีกครั้ง sustenance = การดำรงอยู่, การยังชีพ decolonisation = การปลดปล่อยอาณานิคม, การให้เอกราช inextricably = ที่หนีไม่รอด, ที่เอาไม่ออก bound up = ผูกติดไว้กับ, ยึดไว้กับ
159
วันนี้คุยกับเพื่อนนักสังคมวิทยาด้วยกัน ถกกันเรื่องแนวโน้มของการคบเพื่อน (friend making) สรุปที่ถกกันได้ว่า - mode of making friend ได้รับการ rationalization กล่าวคือ ทุกวันนี้เรา "เลือก" คบเพื่อนด้วยเหตุผลอะไรบางอย่างเสมอที่นอกกว่าอยู่ด้วยกัน ทำงานด้วยกัน เลยเป็นเพื่อนกัน
160
- จากข้อข้างบน ทำให้ในสมัยนี้การคบเป็น strategic planing ที่ได้รับการฝังเข้าไปเป็น program หนึ่งในสถาบันครอบครัว พ่อแม่เลือกรร. ไม่ใช่แค่เพราะรร.ดี แต่สังคม ซึ่งหมายรวมถึงการได้เอคนเพื่อเป็นเพื่อน ก็ถูกกำหนดรวมไว้ในนี้ด้วย อีกทั้งพ่อแม่พยายามเลือกเพื่อนให้ลูกตั้งแต่เด็กๆ
161
- มุมหนึ่งทางสังคมวิทยาที่อธิบายเรื่องนี้ได้ คือ เพื่อนเป็น node ในเครือข่ายสังคมทำหน้าที่ share data ให้กับเรา การได้เพื่อนที่เป็น node แบบที่เรา (พ่อแม่เรา สังคมเรา) พอใจย่อมดีกว่า ซึ่งสิ่งนี้ ไม่ได้เป็นเรื่องที่ปัจเจกกำหนดได้มากนักในตอนต้นของชีวิต แต่ถูก shape มาแล้วระดับหนึ่ง
162
- การเลือกเพื่อนจึงถือเป็น taste กล่าวคือ เป็นผลผลิตจากการขัดเกลาทางสังคมที่เราอยู่ สังคมทุกวันนี้คิดอะไรเป็นเหตุเป็นผลมากขึ้น (จากสภาพต่าง ๆ ตั้งแต่ยุคโมเดิร์น) นอกจากนี้ภาพของการมองเพื่อนก็เปลี่ยนไป ที่น่าสงสัยคือ "นิยาม, คุณค่า, ค.หมาย" ของคำว่าเพื่อน เป็นอย่างไรในทุกวันนี้ ?
163
ทริกในการจำศัพท์คือ จำพร้อมกับแหล่งที่เจอ การจำพร้อมแหล่งที่เจอทำให้นึกถึงศัพท์คำนั้นออกมาได้ไว รวมถึงเก็บในหัวได้นานกว่า เลยเป็นสาเหตุว่าคนที่ฟังเพลง ดูซีรีส์ หรืออ่านนส.จะได้ศัพท์มากกว่าการนั่งท่องแผ่นศัพท์เป็นหน้าๆ วิธีการนี้เป็นโลจิกของพวกแต่งศัพท์เป็นเพลงด้วย
164
ประเด็นต่างๆ ช่วงนี้สะท้อนปฏิบัติการภาษาออกมาไม่น้อย ที่น่าสนใจประการนึงคือ ป้ายต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงค.เห็น มีการใช้อักษรย่อมากขึ้น การย่อคำเป็นการเพิ่มค.กำกวม ซึ่งต้องใช้ค.รู้ที่มีร่วมกัน ในการคลาย มันจึงสร้างค.เป็น “กลุ่มเดียวกัน” ได้หากเห็นตรงกัน
165
เมื่อวานสอนคลาสสถิติเพื่อการวิจัยไป เป็นหัวข้อที่ผมคิดว่ามีประโยชน์กับหลาย ๆ คนที่กำลังเริ่มทำโปรเจ็กกันด้วย คือเรื่องชนิดตัวแปร ครับ ในทางวิจัยตัวแปรมีหลัก ๆ อยู่ 4 ประเภท คือ ตัวแปรต้น (independent) ตัวแปรตาม (dependent) ตัวแปรแทรกซ้อน (intervenning) และตัวแปรนำ (antecedent)
166
class stat ที่ผ่านมา อธิบายเกี่ยวกับชนิดของสถิติไป เลยมาแชร์ให้ชาวทวิตด้วยครับ สถิติมีสองกลุ่มใหญ่ๆ คือ 1) สถิติเชิงพรรณนา (descriptive) และ 2) สถิติเชิงอนุมาน (inferential) เชิงพรรณนาเอาไว้จัดระเบียบข้อมูลดิบให้เป็นระบบ ค.เป็นระบบช่วยให้เห็นค.เชื่อมโยงของข้อมูลได้ดีขึ้นครับ
167
#มีหนังสือมาเสนอ นส.พูดถึงคสพ.ระหว่างโรคระบาดกับสังคมครับ ผู้เขียนพาทัวร์ปวศ.ของการระบาดหนักๆ พร้อมชี้ชวนให้เห็นว่าการระบาดนำไปสู่การ reshape สังคมในแง่ปฏิสัมพันธ์ การเมือง และเศรษฐกิจยังไง นอกจากนี้ ยังพูดด้วยว่าโครงสร้างทางสังคมเสริมการระบาดของโรคได้ยังไง ลองหาอ่านดูครับ
168
#มีหนังสือมาเสนอ ปกตินส.เกี่ยวกับ AI หรือ technology มักจะพูดถึงประเด็นนี้ในแง่ลบ นส.ที่วิเคราะห์ประเด็นนี้ในแง่บวก (ที่มีเหตุผลฟังขึ้นด้วย) มีน้อยมาก หนึ่งในนั้นคือเล่มนี้ครับ ผู้เขียนชวนทำค.เข้าใจว่าการเข้ามาของหุ่นยนต์เหล่านี้ จริงๆ ก็มีแง่ดีอยู่ ใครสนใจลองหาอ่านดูครับ
169
#มีหนังสือมาเสนอ นส.ชวนเราไปมองประเด็นต่างๆ ทางภาษาครับ เป็นหนังสือกึ่งวิชาการที่อ่านง่าย และเป็นมิตรกับคนไม่มีพื้นทางภาษามาเลย ออกแนวเป็นการเล่าเรื่องราวทางภาษาในแง่มุมต่างๆ ตั้งแต่การรับภาษาของทารก ไปจนถึงประเด็นภาษาที่เราใช้กันทุกวันแต่ไม่ค่อยสังเกตครับ ใครสนใจลองหาอ่านดูครับ
170
#มีเปเปอร์มาเสนอ เผื่อใครสนใจเกี่ยวกับคสพ.ระหว่าสังคมกับภาษา เอามาแชร์ครับ ช่วงนี้เข้าไปอ่านบทความเก่าๆ จากวารสาร เจอบทความดีๆ ชวนขบคิดเยอะเหมือนกัน พอมีเวลาการนั่งย้อนอ่านบทความเก่าๆ ที่เขียนเกี่ยวกับเรื่องนึงๆ แล้วไล่อ่านขึ้นมาเรื่อยๆ ก็ได้ไทม์ไลน์ทางค.คิดเป็นของแถมดีครับ
171
#มีcourseonlineมาเสนอ ใครว่างๆ อยู่บ้านเบื่อๆ ตอนนี้ google เปิดสอนคอร์ส Data visualization โดยใช้ Data studio ของกูเกิลำอยู่นะครับ เป็นคอร์สสั้นๆ ที่ได้ใบเซอร์ด้วย (ถ้าทำข้อสอบท้ายคอร์สได้เกิน 80 %) แน่นอนว่าฟรี ไปลองกันได้ตามลิงก์ครับ analytics.google.com/analytics/acad…
172
ช่วงนี้มีงานนส.ออนไลน์อยู่นะครับ เผื่อใครลืมไปแล้ว หรือไม่ทราบว่าเขาย้ายมาจัดเป็นออนไลน์แทน แวะไปดูได้ที่ thaibookfair.com ครับ ผมก็โดนตกไปเรียบร้อย 😂😂
173
ว่าด้วยนส.แนว pop academics มันคือ นส.หมวด non-fiction มีเนื้อหาเข้มพอเป็นวิชาการได้ แต่ใช้การบรรยาย/เล่าเรื่องแบบสมัยนิยม ไม่ดีเทลทฤษฎี/ล้ำลึกขนาดขนบวิชาการจริงๆ ตัวอย่างเช่น นส. ซีรีส์พวก VSI หรือ Sapiens ที่หลายๆ คนรู้จักนั่นเองครับ (ตย.นส.อื่นๆ ตามได้ตามรูปแต่ละ thread ครับ)
174
เป็นประเด็นน่าสนใจครับ ขอพูดถึง metaphorical framing เพิ่มอีกหน่อย นอกจากประเด็นที่ผม re-tweet มา เราจะเห็นการเฟรมแบบนี้ได้อีกในคอรัปชั่นครับ เท่าที่สังเกตมา รฐบ.จะใช้ crime หรือ disease mataphor กับการคอรัปชั่น แน่นอนว่ามัน shape ทัศนคติคนให้คิดเกี่ยวกับคอรัปชั่นไปคนละแบบได้เลย t.co/RuK8aTlgCu
175
มีทริค phrasal verb มาฝากครับ ปกติจะเห็น phrasal verb หลายคำลงท้ายด้วย on on เป็น particle ทำหน้าที่ชี้ค. "ต่อเนื่อง" ให้กับกริยาข้างหน้าครับ เช่น drag on - drag = ลาก on หลังมันทำหน้าที่บอกว่าการลากที่เกิดขึ้นกินระยะเวลาต่อเนื่องอยู่ ภาษาไทยแปลประมาณว่า "ลากยาว" นั่นเองครับ