76
(1) ส่วนตัวรู้สึกว่าข้อความนี้น่าสนใจ อยากเสนอภาพที่ซับซ้อนขึ้นอีกนิดว่า ไม่ใช่ไม่มีใครสนใจฟังอย่างเดียว ทว่าคนที่ฟังต้องเป็นคนที่เขาอยากเล่าด้วย ไม่ใช่ใครก็ได้
งานวิจัยพบว่าการเกิดอารมณ์เหงา/หว่าเว้ ไม่ได้ขึ้นอยู่กับจำนวนคนที่รู้จักอย่างเดียว แต่อยู่ที่คุณภาพของคนที่รู้จักด้วย twitter.com/aloneww/status…
77
น้องติดรัดสาดมาถามว่าต้องมีสกิล / ค.รู้อะไรถึงอยู่รอด / ได้คะแนนดีในคณะ ถ้าในแง่วิชาการส่วนตัวคิดว่า
-ทักษะถ่ายทอดไอเดียเป็นภาษาเขียน / พูด อย่างเป็นระบบ
-ทักษะอ่านจับประเด็น
-ทักษะการอ้างอิง (โดยเฉพาะ chicago และ APA)
-ภาษาอังกฤษ
นี่คือที่ต้องมีให้รอดแบบเบสิกควรปูแน่นๆ เลย
78
#มีศัพท์textมาเสนอ
escalate = ทำให้มากขึ้น, บานปลาย
prefigure = คาดการณ์ไว้
outlandish = แปลกประหลาด (จากค่านิยม/บรรทัดฐานคนในพื้นที่)
nomadic = เรร่อน, ไม่อยู่เป็นที่
husbandry = กสิกรรม, การทำไร่ไถนา
intransigent = เปลี่ยนแปลงยาก
impasse = ทางตัน
residual = ซึ่งเป็นเศษตกค้าง
79
ช่วงนี้มีคนมาขอให้ช่วยเรื่องการเขียน essay ช่วยไปแนะนำ source ให้ไปลองดูเพิ่ม และพบว่ามี Youtube channel ที่สอนเรื่องนี้ไว้ได้ดีมากทีเดียวครับ สนใจลองดูนะครับ
youtu.be/UFXN8v4V-fI
80
@stampwords คำถามน่าสนใจมากครับ ถ้าให้นักสังคมวิทยาอย่างผมตอบคือ การนั่งไขว่ห้าง เป็น gesture ที่มี social meaning ครับ เคยอ่านจากสักที่ ซึ่งที่น่าสนใจคือมันถูกตีความต่างกัน ในวัฒนธรรมยุโรปการนั่งไขว่ห้างสะท้อนถึงสัญญะของ open-minded personality ผ่านการดูอยู่ใน position ที่ inactive ครับ
81
ที่ปรึกษาป.ตรีพูดว่ามีคนในโลกวิชาการสองแบบใหญ่ ๆ คนที่ see things as they are กับ see things as they should be
2 แบบนี้ไม่ได้ compete กัน แต่ compromise สำคัญคือ ต้องรู้จักเรียนรู้ว่าอีกฝ่าย set value ไว้ยังไง แบบไหน เรื่องต่าง ๆ ของเราอยู่จุดไหนบน spectrum นี้
82
#มีเปเปอร์มาเสนอ
เปเปอร์นี้พูดถึง Nothing ผู้เขียนตั้งคำถามกับความว่างเปล่าในเชิงสังคมวิทยาว่าจริงๆ ค.ว่างเปล่าถูกมองในภาวะใดได้บ้าง และอยู่ในรูปแบบใดได้บ้าง แล้วมีความหมายไหม
ลองคิดถึงความเงียบเป็นตัวอย่างก็ได้ครับ ความเงียบเป็นความไม่มีที่มีค.หมายทางสังคมอยู่ ใครสนใจลองดูครับ
83
(1) ในฐานะนักสังคมวิทยา ผมเสนอให้ลองมองอย่างนี้ครับว่า พลเอกเปรมเป็นเหมือนเสาหลักของภาพแทนการเมืองที่นักการเมืองฝั่ง traditional ให้ความเคารพมากพอสมควร เราเห็นได้จากการต้องเข้าบ้านสี่เสาเทเวศน์เพื่อขอความเห็นท่านในประเด็นต่างๆ
84
#มีหนังสือมาเสนอ
หัวข้อใหญ่มากๆ อันหนึ่งในสังคมวิทยาคือ เรื่องเพศครับ การมี Handbook ไว้ explore ประเด็นต่างๆ จึงมีปย.มาก ใครหานส.ที่ช่วยเปิดภาพกว้างด้านนี้ทางสังคมวิทยา แนะนำเล่มนี้ครับ หัวข้ออัพเดทพอสมควร (แม้จะยังตามไม่ทันค.ซับซ้อน) แต่ไว้เป็นเล่มศึกษาเบื้องต้นได้ดีทีเดียว
85
#มีหนังสือมาเสนอ
เป็นนส.ชุดเพื่อเพิ่มศัพท์อิ้งครับ ส่วนตัวผมใช้ซีรีส์นี้ตอนอยู่ม.ปลาย ช่วยสอบเข้าได้ดีมาก (สมัยนั้นสอบแกท แพทได้ 5 รอบ 😂)
นส.อธิบายศัพท์โดยมี context การใช้ให้ มี glossary มีแบบฝึกให้ทบทวน ครบครับ สำหรับนร.ม.ปลาย-มหาลัย แนะนำ intermediate ขึ้นไปเลยครับ
86
คุยกับเพื่อนเรื่องม็อบกับคนรุ่นใหม่ มีข้อสังเกตฝว่า สิ่งที่ดึงดูดคนรุ่นใหม่ให้ไปม็อบในตอนนี้มันไม่ใช่แค่เรื่องของอุดมการณ์และการเรียกร้อง แต่มันเป็นเรื่อง “พื้นที่” ของม็อบเองที่ทำให้คนรุ่นใหม่ได้รู้สึกถึงการเปิดรับทางค.คิดและการแสดงออกจากแวดวงสังคมอื่นที่คอยกดทับเขามาตลอด (ต่อ)
87
ไม่ต้องพูดถึงเรื่องสภาพแวดล้อม การคมนาคมสาธารณะ และมลพิษ พอเอามารวมๆ แล้วเนี่ย ทั้งระบบนิเวศ กับลักษณะเมือง คือ shape พฤติกรรม “อยู่บ้านดีกว่า” เห็นๆ เลย เอาจริงเศร้านะ เราต้องอยู่ในเมืองที่ยัดเยียดให้เราเก็บตัวมากกว่าเชื้อเชิญให้เราออกไปทำกิจกรรมข้างนอก 🤔🤔
88
ให้นร.เขียน essay ในหัวข้อที่สนใจ นร.เลือก การค้าประเวณี ซึ่งเลี่ยงไม่ได้ที่ต้องใช้ศัพท์เกี่ยวกับการ "ร่วมเพศ"
นร.มีคำถามว่า นอกจาก sexual intercourse แล้ว มีคำอื่นอีกไหม เลยบอกเพิ่มอีก 3 คำ คือ
- copulation
- coition
- fornication (คำนี้ใช้กับการร่วมเพศของคนที่ยังไม่แต่งงาน)
89
(1) เมื่อสอนนักเรียนเรื่อง mate selection trend ในวิชาสังคมวิทยาเบื้องต้น
เปิดประเด็นด้วยการพูดถึงการศึกษาโดยนักสังคมวิทยาที่พบว่า เรามักจะเลือกคู่ที่มีลักษณะทางสังคมอยู่ระดับเดียวกับเรา เช่น race เดียวกัน socioeconomic status เดียวกัน ซึ่งสิ่งนี้เรียกว่า homogamy
90
#มีappมาเสนอ
ใครจะค้นศัพท์อิ้ง ผมแนะนำ app ชื่อ vocabulary.com (เป็นเว็บในคอมด้วย) ชอบตรงที่ เวลา search แอปนี้จะเล่าค.หมายโดยยกสถานการณ์ หรืออธิบายผ่านเหตการณ์อะไรบางอย่างก่อน ให้ที่มารากศัพท์ก้วย ส่วนที่บอกค.หมายแบบดิกทั่วไปก็มี บอกพวก word fam ให้ครบ จบแอปเดียวจริงๆ
91
#มีหนังสือมาเสนอ
คิดว่าพื้นที่มีผลต่อพฤติกรรมทางสังคมไหมครับ? ถ้าคิด ผมแนะนำหนังสือเล่มนี้เลย
คนเขียนเสนอว่า "พื้นที่" เป็นมากกว่าแค่บริเวณเปล่าๆ แต่เป็นสถานที่ที่โครงสร้าง ตัวแสดงและสัญญะต่างๆ กระทำต่อความคิดและพฤติกรรมของคนที่อยู่ด้วย ถ้าอยากเปิดโลกด้านนี้ควรไปหาอ่านมากๆ ครับ
92
#มีหนังสือมาเสนอ
เคยสงสัยไ หมคว่าภาษาที่เราใช้อยู่ทุกวันส่งผลกับการใช้ชีวิตอย่างไรบ้าง ทั้งในเชิงความคิดและพฤติกรรม
ทำไมเดี๋ยวนี้ผู้ชายหันมาตอบผู้หญิงด้วยคำว่า ค่ะ มากขึ้น? ทำไมบางภาษาแบ่งคำเรียกญาติต่างกัน ?
ถ้าสนใจหาคำตอบของคำถามเหล่านี้ ผมแนะนำเล่มนี้เลยครับ
93
#มีศัพท์Textมาเสนอ
ardently = (มีอารมณ์) อย่างแรงกล้า
yearning = ความปราถนาอันแสนยาวนาน (ในอะไรบางอย่าง)
brazenly = อย่างไม่เกรงกลัว
grandeur = สิ่งที่ดูสูงศักดิ์
inveterate = ที่ติดเป็นนิสัย
monumental = อย่างมหันต์
prosaic = ธรรมดาๆ จืดชืด
peripatetic = เดินทางไป-มา
94
95
ทำ self-reflection บ่อย จนมีไกด์ไลน์ที่ใช้ประจำ อยากสำรวจตัวเองแต่ไม่รู้เริ่มยังไงลองดูสูตรผมกัน 55
1 ตอนนี้ทำกี่บทบาท
2 บทบาทต่างๆ ดำเนินราบลื่นไหม อะไรกำลังจะจบ อะไรเพิ่งเริ่ม ทิศทางแต่ละอันเป็นไง
3 แต่ละบทบาท โอเค/ไม่โอเค? เพราะอะไร? (อันนี้ทำเพื่อหาต้นตอการ burn out ด้วย)
96
อ่านงาน semiotics ศึกษา elements และ pattern ของ IG story พบว่า
รูปแบบเนื้อหามี 4 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1. ลงเกี่ยวกับมู้ดตัวเอง (ผ่านการเซลฟี่ / เพลง)
2. ลงอัพเดทชีวิต (ผ่านการถ่ายภาพ งาน หรือกิจกรรม)
3. ลงอาหาร
4. ลงวิว
ที่น่าสนใจ และชวนคิดต่อจากเชิง semiotics มีอีกหลายประเด็น
97
#มีแนวคิดมาเสนอ
ปั่น thesis ต่อแล้วเข้าช่วงที่ต้องอ่านเกี่ยวกับ bilinguals พอดีเลยจะมาแชร์สิ่งที่ได้จากการอ่าน
(1) พอได้ยินคำว่า bilinguals ส่วนใหญ่จะนึกถึงคนที่สามารถพูดได้สองภาษาแบบคล่องทั้งคู่จนดูเป็นภาษาแม่ของคนพูด มองแบบนี้คือกำลังมองคำว่า bilinguals ในค.หมายอย่างแคบอยู่
98
บทความของที่ปรึกษาป.ตรีผมเองครับ อยากแชร์ให้ผู้ที่สนใจในประเด็นค.ตายกับค. เป็นเมืองดูไม่ค่อยเกี่ยวกันใช่ไหมครับ? อ.ผมชวนทุกคนคิดอีกมุมว่า อันที่จริงแล้วโครงสร้างเมืองและการรับมือกับค.ตายของชีวิตมีมิติสัมพันธ์กันน่าสนใจมาก ใครอยากรู้ว่ายังไงลองอ่านดูครับ
adaybulletin.com/talk-conversat…
99
#มีเปเปอร์มาเสนอ
เปเปอร์น่าสนใจครับ พูดถึงอิทธิพลโครงสร้างสังคมต่อโรคซึมเศร้า ต่างกับเปเปอร์ปกติที่โยง cutural / political / economic factors มาอธิบายโรค
เปเปอร์นี้ชวนมอง “คู่มือวินิจฉัยโรคซึมเศร้า” ที่ออกโดยองค์กรวิชาชีพ argue ว่ามีค.พัวพันกับการเพิ่มขึ้นของโรคซึมเศร้าหมือนกัน
100