151
#มีทริคดีๆมาเสนอ
สำหรับคนเรียนทางสังคมศาสตร์ครับ
อ.จะแลคเชอร์ฟังดูพูดไปเรื่อย (ซึ่งมีบ้างที่ไปเรื่อยจริงๆ 😂) จนไม่รู้ว่าต้องจดอะไร หรือจับประดันอะไร
วันนี้เลยมาบอกสูตรจับใจความคลาสแบบนี้ให้ครับ
แรกสุด คือค้น theme ให้เจอ-ความไปเรื่อยมันอยู่บนธีมสักธีม จับจุดให้ได้ว่าคืออะไร
152
153
154
ชอบสังคมวิทยาอย่างหนึ่งตรงที่เป็นวิชาเน้นทำค.เข้าใจคนรอบๆ ตัวในสังคมมากๆ
อ.ที่สอนบอกว่า พอเรารู้ BG เขา รู้ค.คิดเขา เข้าใจในตัวเขาจากมุมที่เป็นเขาได้ เรากับเขาจะยืนบนพื้นเดียวกัน เสน่ห์ของวิชานี้ไม่ใช่แค่โลกทัศน์ที่กว้างขึ้น แต่คือการได้รู้สึกว่าทุกคนคือมนุษย์เท่าๆ กัน
155
#มีหนังสือมาเสนอ
นส. ชวนมองมิติสังคมของอาหารครับ เริ่มด้วยทำค.เข้าใจอาหารในค.คิดทางสังคม เป็นอะไร? อยู่ในฐานะไหน? ต่อด้วยการเล่าถึงปวศ.ของอาหารกับสังคมผ่านการเกษตร แล้วโยงไปประเด็น เช่น วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ตลอดจนการเมืองครับ
ใครสนใจ google books มีฉบับดิจิทัลราคาประมาน700 ครับ
156
รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร Politics and Global studies หลักสูตรนานาชาติที่รัฐศาสตร์จุฬากำลังจะเปิดในปีนี้ออกแผนการศึกษามาเบื้องต้นแล้วครับ มาแชร์บอกเผื่อใครอยากเข้า หรือ แนะนำคนอื่น
Handbook รายละเอียดเต็มๆ สามารถเข้าไปดูได้ที่ลิงก์ด้านล่างนี้นะครับ
issuu.com/pgs.chula/docs…
157
(1) ถกกับเพื่อนประเด็น ทำไมรู้สึกว่าทฤษฎีสังคมวิทยาไม่เหมือนวงการทฤษฎีอื่น สรุปได้ข้อนึงคือ จุดมุ่งหมายของทฤษฎีไม่ได้โฟกัสที่ richness in thinking อันที่จริงเรื่องนี้เห็นได้ชัดจากต้นกำเนิดของศาสตร์เองที่นักคิดเช่น เดอร์ไคม์ สร้างแนวคิดขึ้นมาเพื่อใช้ทำวิจัยในประเด็นทางสังคมด้วยซ้ำ
158
(6) เช่นค่านิยม อาทิ ผู้หญิงต้องรักนวลสงวนตัว ผู้หญิงห้ามพูดจาโผงผาง ผู้หญิงควรนอบน้อมเชื่อฟังคนอื่น ผู้หญิงต้องมีเสน่ห์ปลายจวัก ได้ไปกดทับเสรีภาพพึงกระทำได้ของผู้หญิง หรือสร้างเงื่อนไขให้ผู้หญิงเสียเอง
159
(1) หลังสอนเสร็จบางครั้งนักเรียนจะถามว่า ที่เรียนไปเอาไปใช้ทำ(อาชีพ)อะไรได้บ้างไหม และทุกครั้งผมก็จะแจงว่า ศาสตร์บนโลกนี้แบ่งได้คร่าวๆ เป็นฝั่ง “วิชาการ” กับ “วิชาชีพ”
บางวิชาเป็นสายวิชาการ คือ เป็นศาสตร์ที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพื่อไปประกอบอาชีพอะไร แต่เป็นวิชาให้ค.เข้าใจที่ลึกซึ้ง
160
- จากข้อข้างบน ทำให้ในสมัยนี้การคบเป็น strategic planing ที่ได้รับการฝังเข้าไปเป็น program หนึ่งในสถาบันครอบครัว พ่อแม่เลือกรร. ไม่ใช่แค่เพราะรร.ดี แต่สังคม ซึ่งหมายรวมถึงการได้เอคนเพื่อเป็นเพื่อน ก็ถูกกำหนดรวมไว้ในนี้ด้วย อีกทั้งพ่อแม่พยายามเลือกเพื่อนให้ลูกตั้งแต่เด็กๆ
161
#มีหนังสือมาเสนอ
นส.พูดถึงคสพ.ระหว่างโรคระบาดกับสังคมครับ ผู้เขียนพาทัวร์ปวศ.ของการระบาดหนักๆ พร้อมชี้ชวนให้เห็นว่าการระบาดนำไปสู่การ reshape สังคมในแง่ปฏิสัมพันธ์ การเมือง และเศรษฐกิจยังไง นอกจากนี้ ยังพูดด้วยว่าโครงสร้างทางสังคมเสริมการระบาดของโรคได้ยังไง ลองหาอ่านดูครับ
162
#มีหนังสือมาเสนอ
การโกหกเป็นกิจกรรมน่าสนใจในหลายมิติครับ การโกหกทำหน้าที่ในเชิงวัฒนธรรม/ปวศ. ยังไง เกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางสังคมยังไง การโกหกเป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้หรือเรามีความสามารถนี้โดยกำเนิด นส.เล่มนี้พาไปทัวร์มุมมองสังคมวิทยาเพื่อตอบปัญหาที่ว่ามานี้ครับ ใครสนใจลองดูนะครับ
163
(7) ในแง่นึง พอค.หมายของ toxic masculinity กว้างขึ้น คำนี้ก็นำไปใช้ในค.หมายว่า “ผู้หญิง” ที่มีพฤติกรรมหรือทัศนคติแย่ อยู่แล้วรู้สึกเป็นพิษ ได้เช่นกัน
ตอนนี้ทั้งสองคำอยู่ในภาวะที่ค.หมายเกิดค.ลื่นไหลอยู่ หากนำไปใช้ควรระบุค.หมายที่ต้องการสื่อให้ชัดเจนเพื่อกันค.เข้าใจคลาดเคลื่อนครับ
164
#มีศัพท์Textมาเสนอ
servitude = ความเป็นทาส ถ้าใช้ในเชิงรัฐศาสตร์หรือกฎหมายแปลว่า “ภาระจำยอม” ได้ด้วยครับ
horrid = น่ากลัว, น่าสยดสยอง
palpable = ซึ่งสัมผัสได้, ซึ่งรับรู้ได้ชัดเจน
virility = ความมีกำลังวังชา
malady = โรค
ignominiously = อย่างน่าอัปยสอดสู
165
(3) ยังไม่นับว่าสนใจศึกษารูปแบบของการทำว่าเป็นยังไง มี correlation กับ independent variables ตัวไหนยังไง แล้วมันจะยิ่งน่าสนใจทีนี้พอได้ pilot มาประมานนึงแล้วเอามาขยายด้วย conceptual framework ตั่งต่าง
166
#มีหนังสือมาเสนอ
คิดถึงอาหารแง่ไหนบ้างครับ? หลายคน concern แคลอรี่ หลายคนมองว่าเข้าร้านไหนไปอัพ IG ดี ความคิดที่โยงกับอาหาร กำหนดพฤติกรรมทางสังคมเราโดยไม่รู้ด้วยตัว
หนังสือเล่มนี้พาทัวร์มิติสังคมที่โยงกับอาหารได้น่าติดตามมาก ไม่เชื่อดู สารบัญ ใครสนใจไปตำได้ ที่คิโนะมีขายนะครับ
167
#มีศัพท์Textมาเสนอ
credulity = ความเชื่อคนง่าย, หูเบา
satirize = ถากถาง, เหน็บแนม
frivolous = เหลาะแหละ, ทำอะไรเล่นๆ ไม่เอาจริงเอาจัง
unselfconcious = ซึ่งไม่เสแสร้ง
blatantly = (แสดงออกมา) อย่างโจ่งแจ้ง
arduous = อันแสนยากลำบาก, ตรากตรำ
esoteric = (บางอย่าง) ซึ่งรู้กันในวงจำกัด
168
- การเลือกเพื่อนจึงถือเป็น taste กล่าวคือ เป็นผลผลิตจากการขัดเกลาทางสังคมที่เราอยู่ สังคมทุกวันนี้คิดอะไรเป็นเหตุเป็นผลมากขึ้น (จากสภาพต่าง ๆ ตั้งแต่ยุคโมเดิร์น) นอกจากนี้ภาพของการมองเพื่อนก็เปลี่ยนไป ที่น่าสงสัยคือ "นิยาม, คุณค่า, ค.หมาย" ของคำว่าเพื่อน เป็นอย่างไรในทุกวันนี้ ?
169
(1) หลังจากตรวจข้อสอบกลางภาคของนิสิตปี 3 ในภาคก็ลองทำ Thematic analysis เพื่อค้นหาว่าอะไรทำให้เด็กปีนี้ได้คะแนนดีไม่ดีในวิชาทฤษฎี หลังทำได้ข้อค้นพบบางอย่างดังนี้
1. นิสิตที่ได้คะแนนไม่ดีมักเกิดจากโครงสร้างการเขียนเป็นหลัก ใจความไม่ได้ต่างกันแต่การเรียบเรียงเละ คะแนนจะน้อยลงทันที
170
#มีศัพท์Textมาเสนอ
อ่าน Text แล้วเจอศัพท์น่าสนใจ
1. lyceum = ใน text ให้ค.หมายว่า ห้องแสดงปาฐกถา แต่จริงๆ ยังหมายถึงสถานศึกษารูปแบบหนึ่งด้วยครับ
2. bequeath = กริยา แปลว่า มอบให้ ยกให้ ใน text ใช้ในบริบทที่คนมีค.รู้มากกว่ายกค.รู้ให้
3. Chalatan = คนแสร้งทำเป็นมีค.รู้ มีทักษะ
171
ภาษาศาสตร์จิตวิทยาถึงเป็นสาขาที่ครอบคลุมความรู้ทางภาษาหลายๆ ด้าน แต่ไม่ใช่สาขาที่สอนเรื่องจิตใจกับภาษา หลักๆ แล้วสาขานี้สนใจ
1. การผลิตและทำความเข้าใจภาษา
2.การรับและเรียนภาษา
3.ภาษากับสมอง
คำถามในสาขานี้เช่น อายุมีผลต่อการเรียนภาษาไหม? หรือ เราจัดเก็บคำศัพท์ในหัวยังไง?
172
ถูกฮะ จริงๆ วิทย์/สังคมเริ่มเรียนเหมือนกันอยู่นะ วิทย์เริ่มจากตั้งคำถามทางนี้ก็เริ่มแบบนั้น จุดทำให้ไปคนละทางคือ fact แหละ ธรรมชาติของ natural facts กับ social facts ต่างกัน facts ทางวิทย์เปลี่ยนแปลงไม่ไวแต่ทางสังคมเปลี่ยนไวมาก เลยศึกษาไม่เหมือนกันเพราะตอบโต้กับ facts คนละแบบกัน twitter.com/stampwords/sta…
173
#มีหนังสือมาเสนอ
นส.เป็นพจนานุกรมรากศัพท์สำคัญๆ ในภาษาอังกฤษครับ พาทัวร์รากศัพท์ บอกค.หมาย ใช้เรียนศัพท์ได้ดีมาก นส.ยกตัวอย่างให้เห็นว่าเจอรากศัพท์นี้ในคำไหนบ้าง แล้วมีตัวอย่างปย.ที่ใช้คำนั้นให้พร้อมคำแปล
สำหรับใครที่ชอบ root word / affix ชอบการรู้ที่มาของรากคำต่างๆ ไม่ควรพลาด
174
175