26
แต่เห็นด้วยว่าคนอ่านหนังสือ (ถ้าอ่านจริงๆ เพราะชอบ) ก็ไม่ได้อยากได้คำชมอะไรกับการอ่านนะ คือชอบอยู่แล้วด้วยตัวเอง ไม่ต้องชมก็ได้ (แอบเข้าใจรุ่นน้องในจุดนี้) นี่ก็คุยว่าถ้าคนที่เข้ามาแบบนี้ ถามใหม่เป็นอ่านเรื่องอะไร เนื้อหาเป็นยังไง คิดว่าสนุกไหม คนชอบอ่านนส.น่าจะแฮปปี้กว่า
27
เมืองมันดีไซน์มาให้คิดแบบนี้จริงๆ ที่รู้สึกแบบข้อ 1 กับ 2 คือ ออกทีต้นทุนสูง ทั้งเงินที่ต้องใช้เดินทาง อารมณ์ที่เสียไป ไหนจะค่าใช้จ่ายอื่นๆ พอออกไปแปปเดียวแล้วเทียบกับเสียต้นทุนคือ ไม่คุ้ม
ส่วนข้อ 3 หลักๆ คือ กทม. มีแต่ห้าง แล้วไม่มีโซนอื่นๆ เลย กิจกรรมที่ทำได้มันน้อย
28
(1) ในฐานะนักสังคมวิทยา ผมเสนอให้ลองมองอย่างนี้ครับว่า พลเอกเปรมเป็นเหมือนเสาหลักของภาพแทนการเมืองที่นักการเมืองฝั่ง traditional ให้ความเคารพมากพอสมควร เราเห็นได้จากการต้องเข้าบ้านสี่เสาเทเวศน์เพื่อขอความเห็นท่านในประเด็นต่างๆ
29
30
วันนี้มีคำที่ใช้กันสักพักแล้วในวงการวิชาการ แต่ผู้เรียนอยู่อาจจะยังไม่คุ้น หรือคิดว่ายังไม่มีการบัญญัติ คำนั้นคือคำว่า
“พิชญพิจารณ์” ครับ เป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า “peer review”
คำที่ใช้กันก่อนบัญญัติคือ “การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน”
ชอบการบัญญัติคำนี้ สวย เข้าใจง่ายและดูแพง
31
Concise คือ การเขียนให้แนวคิดเราถูกต้อง หรือคำจำกัดความสอดคล้องกับเรื่องที่เขียนครับ ในย่อหน่าที่ต้องมีการนิยามศัพท์ต่างๆ จะต้องยืดหลักว่าคนอ่านต้องเข้าใจว่าเราจะสื่ออะไร และสิ่งที่ยกมาต้องมีที่ไปที่มาสนับสนุน หรือถ้าจะเป็นการนิยามด้วยตัวเองก็ควรมีต้นเหตุว่าได้แรงบันดาลใจมาจากไหน
32
มีคน ถกกันว่า มีคนเป็น sapiosexual (มีแรงดึงดูดกับคนฉลาด) ขนาดไหน หายาก นี่ก็อยากชี้ว่า นี่ไง อยู่นี่
มีเสน่ห์ออก คนทำงานหน้าเคร่งขรึมกับกองหนังสือตรงหน้า ชอบมองคนอ่านหนังสือนิ่งๆ อะ ดูกำลังตกอยู่กับความคิด
ชอบตอนที่เล่าความรู้ที่มีให้ฟังด้วยแววตาเป็นประกาย เนี่ย เขินๆ 55
33
(1) ตอนนี้ได้ยินคำว่า social detox จากคนรอบข้างถี่ขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งทุกคนที่ใช้คำนี้นิยามไปในทางเดียวกันว่าคือ การพักและเอาตัวเองออกมาจากการเล่นโซเชียลมีเดีย หรือ การกลับมาอยู่กับตัวตนในโลกจริงๆ
สนใจประเด็นนี้มากตรงที่นั่นสะท้อนให้เห็นว่ามันมี drawback จากการใช้ชีวิตในสังคมออนไลน์
34
ใคร สนใจอ่านต่อ เรียนเชิญที่ minimore.com/b/ypar8/9 ครับ
35
ที่ชอบที่สุดคือ ผลวิจัยไม่ได้ให้มาเขียนเป็นเปเปอร์ แต่อ. ให้คนรู้จักที่เชี่ยวชาญด้านการทำสื่อ มาสอนการเขียนสคริปท์สารคดี สอนการย่อยงานวิจัยให้กลายเป็นบทสารคดี เพื่อเปลี่ยนจากข้อมูลเป็นหนังสั้นที่เล่ามุมมองของคนเหล่านี้ให้คนในสังคมฟัง เสียดายที่หลักสูตรใหม่ไม่บรรจุวิชานี้แล้ว
36
37
38
ได้ลองซื้อบริการจริง ๆ (แต่นำผู้ให้ข้อมูลมาสัมภาษณ์+จ่ายค่าสัมให้นะ 5ถ) ได้ติดต่อสน. เพื่อขอทำเรื่องวิจัย ได้เซ็ตขั้นตอนเองทุกอย่าง คือชอบวิชานี้มาก อ.ลงแรงด้วย ไปกับเราทุกครั้ง คอมเมนต์หน้างานที่ฟีลด์วันนั้นหลังลงเสร็จเลย จุดไหนดี จุดไหนพลาด คือเก็บคะแนนกันจากการปฏิบัติตรงนั้น
39
Concrete คือ ยกตัวอย่างสะท้อนสิ่งที่ต้องการจะสื่อให้คนอ่านเห็นภาพให้ได้ ปกติจะไม่ยกตัวอย่างเป็นเหตุการณ์สมมติ (ถ้าทำได้) พยายามใช้ตัวอย่างที่เกิดขึ้นจริงๆ จากข่าวหรืองานวิจัย เพื่อทำให้คำกล่าวอ้างของเรามีน้ำหนักมากที่สุด บางครั้งก็ยกตย.เพื่อช่วยให้คนอ่านเข้าใจแนวคิดเราด้วย
40
มีโอกาสคุยกับเพื่อนที่สอนภาษาอื่น แล้วเพิ่ง realized ว่าการเรียนการสอนญป.ในไทยคือ พร็อบเรียนพร้อมกว่าภาษาอื่นมาก เพื่อนบ่นเรื่องต้องทำแบบฝึกเอง (ญี่ปุ่นมีนส.แบบฝึกที่ไปกับแบบเรียนขาย) ต้องหาสื่อการสอนเอง ญป.มีองค์กรทำหน้าที่ผลิตตำราเรียนหลายที่ มีระบบออกแบบเนื้อหาที่เป็นรูปธรรม
41
Convince คือ เขียนให้มีประเด็นชัด และไม่วกวน จัดเรียงโลจิกในการเขียนดีๆ ปกติส่วนนี้คือจะเช็คหลังจากเขียนใกล้จะจบ ถ้าตัวเองอ่านแล้วพยักหน้าให้ตัวเองได้ก็ผ่าน ทริคคือ ร่างโครงร่างที่จะเขียนก่อน แบ่งเป็น theme แล้วก็เขียน support ideas ลงไปในแต่ละ theme แล้วหาวิธีเรียงให้ดู convince
42
Contribute คือ งานควรมีข้อเสนอแนะไม่เชิงวิชาการก็นโยบายต่อสังคมบ้าง อันนี้มักใช้เป็นตัวจบเปเปอร์เพื่อให้เปเปอร์มีคุณค่า ไม่ก็เขียนที่มาและความสำคัญด้วย
ปกติ ประเด็นนี้คิดไว้ตั้งแต่ตอนคิดหัวข้อที่จะเขียนจะดีมาก เพราะถ้าคิดออกว่าอยาก contribute อะไรก็จะได้ตัวเปิดกับตัวปิดไปด้วยเลย
43
@stampwords คำถามน่าสนใจมากครับ ถ้าให้นักสังคมวิทยาอย่างผมตอบคือ การนั่งไขว่ห้าง เป็น gesture ที่มี social meaning ครับ เคยอ่านจากสักที่ ซึ่งที่น่าสนใจคือมันถูกตีความต่างกัน ในวัฒนธรรมยุโรปการนั่งไขว่ห้างสะท้อนถึงสัญญะของ open-minded personality ผ่านการดูอยู่ใน position ที่ inactive ครับ
44
(2) ดังนั้นนักการเมืองฝั่ง tradition และจริงๆ ก็ทุกคนที่อยู่ใน Thai politics shpere รับรู้ว่าท่านมี autonomy บางอย่างในเชิงการเมือง ท่านเป็นผู้นำที่มีสิ่งที่ Weber เรียกว่า charismatic power สูงมาก คือ Autonomy ของท่านมาจากบารมีที่ท่านได้สร้างไว้
45
ตอนบอกคนอื่นว่าเรียนภาษาศาสตร์ คำถามที่ได้กลับมาคือ “เรียนภาษาอะไร” มาครับผมจะเล่าให้ฟังว่า ภาษาศาสตร์ “เรียนอะไร”
ภาษาศาสตร์เน้นศึกษาระบบภาษาที่มีอยู่ในโลกครับ = ไม่ได้ศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่ง แต่ศึกษาระบบภาษาที่ทุกภาษามี แล้วทำการเปรียบเทียบ วิเคราะห์ ดูพลวัตรในนั้น
46
สอนน้องคนนึง ซึ่งพ่อแม่มาบอกแต่แรกว่าเขาเข้าสังคมไม่เก่ง แต่คุยกันก็ดูเป็นคนอัธยาศัยดีเลยนะ วันนี้ระหว่างเรียน น้องถามว่า “อ่านนส.แล้วเพื่อนต้องไม่คบเหรอ”
ได้ยินคำถามก็สตั้นไป 2-3 วิ เลยถามว่าใครมาพูดแบบนี้ น้องบอกคนที่บ้านนี่แหละ เห็นเขาเอาแต่อ่านนส. เลยเมนชั่นมาแบบนี้
47
(3) ที่น่าสนใจคือ ในทางสังคมวิทยา ผู้นำแบบบารมี (charismatic leader) มีจุดแข็งและจุดอ่อนบางประการที่น่าสนใจ จุดแข็งคงหนีไม่พ้นการสร้าง social order ที่มีประสิทธิภาพมาก แต่จุดอ่อนคือ การถ่ายโอน charisma ให้คนอื่นเป็นไปได้ยากมาก (มันต้องสั่งสมเองในตัวแต่ละคน ส่งกันไม่ได้)
48
(5) เปิดโอกาสให้เกิดผู้นำแบบอื่น เช่น rational leader ที่ตั้งตามกฎหมายหรือการลงความเห็น ภาพนี้จะเกิดขึ้นถ้าการเมืองภายในมี consensus ในทางเดียวกัน แต่ถ้าแตกเป็นหลายๆ ฝ่ายอันนี้ น่าสนใจแล้วครับว่าทิศทางจะเป็นไงต่อ แล้วดันมาประจบกับช่วงเปิดสภา ช่วงผลัดแผ่นดิน มันมีอะไรให้ขบคิดอยู่
49
(4) ดังนั้นถ้าไม่มีใครมารับช่วงต่อแบบเตรียมการไว้ดีแล้ว โครงสร้าง social order ที่แข็งแรงมันจะสั่นอย่างรวดเร็ว และเกิดความขัดแย้ง รวมถึงสภาพวุ่นวายภายในสูง ถึงจะมีการแต่งตั้งตัวแทนได้ ตัวแทนดังกล่าวก็ไม่ได้มี autonomy เท่าผู้นำคนก่อน เพราะครไม่ได้ศรัทธาเท่ากัน
50