226
227
6) in situ (ɪnsɪtu) แปลว่า ในที่ตั้ง (ของสิ่งนั้น) ครับ จริงๆ คำนี้ใช้หลายเซนส์ ในเชิงสังคมวิทยามักใช้ในเซนส์ว่าในพื้นที่นั้น ๆ แต่ในเชิงวิทยาศาสตร์อาจมีนัยยะว่าทำการศึกษาในห้องแล็บ หรือในที่ตั้งหนึ่งๆ ก็ได้ครับ
7) per se (pɜr seɪ) แปลว่า โดยเนื้อใน หรือ โดยแก่นแท้ (ของสิ่งนั้น)
228
ประเด็นต่างๆ ช่วงนี้สะท้อนปฏิบัติการภาษาออกมาไม่น้อย ที่น่าสนใจประการนึงคือ ป้ายต่างๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงค.เห็น มีการใช้อักษรย่อมากขึ้น
การย่อคำเป็นการเพิ่มค.กำกวม ซึ่งต้องใช้ค.รู้ที่มีร่วมกัน ในการคลาย มันจึงสร้างค.เป็น “กลุ่มเดียวกัน” ได้หากเห็นตรงกัน
229
230
231
เคยสงสัยไหมครับว่า self คืออะไร? สังคมมีส่วนช่วยในการสร้างตัวตนเราไหม? พันธุกรรม และ/หรือ การเลี้ยงดูเข้ามาเอี่ยวกับความเป็นมนุษย์ขนาดไหน? บทความนี้ผมตั้งใจเล่าสิ่งเหล่านี้ผ่านเลนส์ทางสังคมวิทยาครับ
minimore.com/b/QJqAj/3
232
เป็นคนติดจำคำศัพท์จากที่มา หรือส่วนประกอบของคำ ชอบพวก prefix / suffix / root มาตั้งแต่จำความได้ รู้สึกว่า ถ้ารู้คำนี้ประกอบมาจากอะไร ประกอบขึ้นมายังไง ก็จะจำคำนั้นได้ไปเลย เช่น พอรู้ว่า ab- แปลว่า ‘away’ คำอย่าง absent / abduct / adject ก็เข้าใจง่ายขึ้นมาทันที
233
จนเกิดความสงสัยว่า นั่นสิ อะไรทำให้ระบบการเรียนภาษาญป.ในไทยเป็นแบบนี้ ทั้งๆ ที่เอาจริง ภาษาฝรั่งเศสเปิดก่อนญป. แต่ตำราเรียนฝรั่งเศสเหมือนแต่ละรร.จะหามา / ผลิตเองอีกที (ฟังจากเพื่อนมา) ไม่ทราบเหมือนกันว่ามีที่กระทรวงศึกษากำหนดเลยว่าใช้เล่มไหนแบบภาษาญป. ไหม
234
“ประชาธิปไตยไทยจบลงที่การเลือกตั้ง”
ส่วนใหญ่รู้สึกว่าไปใช้สิทธิ์คือได้ทำให้ประเทศเป็นประชาธิปไตยแล้ว แต่จริงๆ ประชาธิปไตยเริ่มหลังเลือกตั้ง เราควรหมั่นทวงสัญญาที่เขาบอกจะทำ ควรส่องการประชุมสภาทุกครั้ง ควรวิเคราะห์นโยบายและการบริหารบ่อยๆ แบบนี้อะคือการใช้สิทธิ์ในอำนาจของเราจริงๆ
235
(5) และยังเหลืออีกหลายๆ คำถามที่น่าหาคำตอบครับ จริงๆ ในห้อง นิสิตคนที่เสนอก็ชูประเด็นเรื่องซีรีส์ Y นอกจากจะยัดเยียดกรอบในการตีค่าแล้ว ยังทำให้ภาพผู้ชายแบบเคะ ที่โดน sexual harrassment ดูเป็นเรื่องปกติไปด้วย โดยการเสนอภาพว่าในท้ายที่สุดการถูกทำเช่นนั้นก็จบลงที่รักกันอย่างมีค.สุข
237
#มีหนังสือมาเสนอ
นส.เล่มนี้ไม่วิชาการจ๋าครับ คนไม่มีพื้นก็อ่านได้สบายๆ นส.พาเราไปทำค.เข้าใจการเปลี่ยนแปลงสังคมครับ ผู้เขียนเล่าถึงการเปลี่ยนผ่านทางสังคมโดยดูจากพลวัตรของบรรทัดฐานซึ่งวิเคราะห์ผ่านมุมมองต่าง ๆ ทั้งในเชิงจิตวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมครับ ลองหาอ่านดูครับ
238
#มีหนังสือมาเสนอ
นส.เล่มนี้มอง “เวลา” ในฐานะตัวแปรที่มีค.สัมพันธ์กับปรากฏการณ์สังคมครับ
นส.พาไปทำค.เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับเวลาในด้านต่างๆ พร้อมทั้งชักชวนให้ตั้งคำถาม อาทิ การรับรู้เกี่ยวกับเวลาเมื่อวิทยาศาสตร์พยายามทำให้เวลาทางสังคมกลายเป็นภาพเชิงปริมาณ
ใครสนใจลองหาอ่านดูนะครับ
239
มีทริค phrasal verb มาฝากครับ
ปกติจะเห็น phrasal verb หลายคำลงท้ายด้วย on
on เป็น particle ทำหน้าที่ชี้ค. "ต่อเนื่อง" ให้กับกริยาข้างหน้าครับ เช่น
drag on - drag = ลาก on หลังมันทำหน้าที่บอกว่าการลากที่เกิดขึ้นกินระยะเวลาต่อเนื่องอยู่ ภาษาไทยแปลประมาณว่า "ลากยาว" นั่นเองครับ
240
9) De facto (deɪ fæktoʊ) แปลว่า ในเชิงพฤตินัย ครับ ทางสังคมศาสตร์ใช้พูดกันประมาณว่า ในเชิงข้อเท็จจริงแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นคือ...
10) De jure (deɪ dʒʊəreɪ) แปลว่า ในเชิงนิตินัย ครับ ทางสังคมศาสตร์ใช้พูดกันประมาณว่า ในเชิงตัวบทกฎหมายแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นควร ....