76
77
78
79
80
81
“เราควรที่จะต้องเท่าเทียมกัน ไม่ใช่ถูกกดทับทางเสรีภาพในการแสดงออก ไม่ใช่ว่าเสียงของเราไม่ถูกปิดกั้นเพราะว่าพวกผู้ใหญ่กำลังถอยหลังกลับสามก้าว แทนที่จะเดินไปข้างหน้า” - วิลคินสันกล่าววิพากษ์คนรุ่นเก่าปิดท้ายสุนทรพจน์
82
#ผู้ชายกับเทรนด์การทาเล็บที่กำลังมาแรง - ช่วงปี 2020 นี้ก็ถือเป็นปีที่ผู้ชายนิยมหันมาทาเล็บมากขึ้นอยากเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นนักร้องดังอย่าง Harry Styles, Troye Sivan, Lil Nas X หรือ Bad Bunny ก็หันมาเกาะเทรนด์การทาเล็บกันอย่างภาคภูมิใจ
83
ล่าสุด นักเรียนคนนี้ได้สร้างแคมเปญในเว็บ Change./org เพื่อให้คนลงชื่อสนับสนุนการอนุญาตให้ผู้ชายทาเล็บไปโรงเรียนได้ ซึ่งก็มีคนลงชื่อร่วมแสดงพลังกว่า 350,000 คนแล้ว
84
หลังจากที่มีข่าวเรื่องนี้ออกไปทั่วประเทศอเมริกา ทางโรงเรียนก็ได้ออกแถลงการณ์ว่ามีความเชื่อในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและเท่าเทียม จึงจะมีการพิจารณากฎการแต่งกายใหม่เมื่อถึงเวลาของการตรวจสอบคู่มือของนักเรียน และจนกว่าจะถึงเวลานั้นก็ยืนยันว่าจะไม่มีนักเรียนที่ต้องถูกเลือกปฏิบัติ
85
“ทำไมมันถึงผิดกฎที่ผู้ชายจะรู้สึกมั่นใจกับความเป็นชายของเขา และต่อต้านบรรทัดฐานทางเพศที่สังคมพยายามจะยัดเยียดให้? ทำไมมันถึงจะเป็นเรื่องอันตรายที่ผมจะทาเล็บ ถ้ามันไม่ได้อันตรายอะไรเวลาผู้หญิงทาเล็บ ทำไมผู้ชายทำถึงมีปัญหาล่ะ?”
86
โดยรัฐเท็กซัส ซึ่งอยู่ทางใต้ของประเทศอเมริกานั้นถือเป็นรัฐที่มีอุดมการณ์ส่วนใหญ่ค่อนไปทางฝั่งอนุรักษ์นิยมและยังเป็นรัฐที่ไม่มีกฎหมายห้ามการเลือกปฎิบัติต่อคนหลากหลายทางเพศ ไม่ว่าจะเป็น
87
#ความสองมาตรฐานทางเพศ – วิลคินสันยังได้พูดถึงกฎการแต่งกายที่ไม่เหมือนกันระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย ซึ่งเป็นการตีกรอบทางเพศที่ไม่ได้อยู่บนหลักการหรือเหตุผลใดๆ เลย นอกจากขนบแบบเก่าที่สร้างความเป็นชายให้แตกต่างกับความเป็นหญิงให้ได้มากที่สุด
88
89
“เรื่องนี้มันไม่เกี่ยวกับผมอีกต่อไปแล้ว มันเกี่ยวกับนโยบายที่เหยียดเพศ และเลือกปฏิบัติ ซึ่งต้องเปลี่ยนได้แล้ว” - เสียงของ ‘Trevor Wilkinson’ นักเรียนจากโรงเรียน ‘Clyde High School’ ในรัฐ Texas ซึ่งเขาได้กล่าวไว้ต่อหน้าผู้บริหารของโรงเรียนในการเรียกร้องให้เปลี่ยนกฎนี้
90
91
จากกรณี #ไม่ใช่ปลาแต่เป็นเหี้ย เราจึงมาสรุปหลากหลายประเภทของความรุนแรงทางเพศที่เห็นได้จากปรากฎการณ์ครั้งนี้เพื่อที่จะได้ช่วยให้เกิดความเข้าใจว่าพฤติกรรมความรุนแรงทางเพศเหล่านี้ส่งผลอย่างไรและทำไมเราต้องรณรงค์ให้มันหมดไปได้แล้ว
92
93
94
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่ bit.ly/39Ml9t8
95
96
97
98
ตั้งแต่เริ่มมี #MeToo ก็เริ่มมีการพูดคุยกันว่า ‘การคุกคามทางเพศ’ ก็อาจมีความหมายกว้างกว่าแค่การ ‘ขืนใจคนอื่นโดยใช้กำลัง’ นสพ. New York Times เลยได้รวมเรื่องเล่าของหลากคนจากหลายมุมโลกใน 'Stories of Sex and Consent' เพื่อบอกว่าความยินยอมนั้นไปไกลกว่าการบอกว่า “โอเค” หรือ “ไม่โอเค”
99
100