2
4
หลังจาก #แบนF4 หลายๆ คนก็เห็นด้วยว่าซีรีส์เรื่องนี้ไม่แบนก็ต้องปรับ เพราะพล็อตนำเอาความรุนแรงมาฉาบทับด้วยความบันเทิง เช่น การบูลลี่และการกดขี่คนอื่นอย่างไร้เหตุผล อีกทั้งยังทำให้ภาพของผู้กดขี่ออกมาดูดีและโรแมนติกเกินกว่าที่ควรจะเป็น เธรดนี้เลยชวนมาดู 8 ฉากในเรื่องที่มีปัญหาสุด ๆ
5
6
7
8
#สรุปเหตุการณ์นักข่าวข่มขู่ผู้หญิงข้ามเพศ ซึ่งคาดว่าเป็นนักข่าวจากสำนักข่าวชื่อดังแห่งหนึ่ง และกำลังจะถูกดำเนินคดี ตลอดจนมีการเดินทางไปที่สำนักข่าวเพื่อยื่นเรื่องตรวจสอบภายในวันนี้
9
#วัฒนธรรมกินหัว อำนาจนิยมในโรงเรียนแพทย์ - คือการที่อาจารย์ใช้ความรุนแรงกลั่นแกล้งนักศึกษาผ่านการซักถาม อาจเริ่มตั้งแต่การ ’ตักเตือน’ จนไปถึงการจิกกัดและดุด่า เช่น การไล่เด็กไปตาย การฉีกหน้านักศึกษาต่อหน้าเพื่อนที่ราวน์วอร์ดด้วยกัน (การเดินตรวจประจำวอร์ดต่างๆ) และต่อหน้าคนไข้
10
11
12
13
สังคมไทยเป็นอะไรหนักหนากับ ‘หัวนม’ และ ‘ขน’?
‘ดาราณี ทองศิริ’ - ชวนดูปฏิกิริยาของสังคมต่อการรณรงค์โนบราและไว้ขนรักแร้ หลังจากที่มีกระแสเชิญชวนไปในทวิตเตอร์ในไทย ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ์ล่าสุดที่มีผู้หญิงถอดเสื้อประท้วงในพิพิธภัณฑ์ ‘ออร์แซ’ ประเทศฝรั่งเศส bit.ly/2RuY4Rj
14
ตั้งแต่เริ่มมี #MeToo ก็เริ่มมีการพูดคุยกันว่า ‘การคุกคามทางเพศ’ ก็อาจมีความหมายกว้างกว่าแค่การ ‘ขืนใจคนอื่นโดยใช้กำลัง’ นสพ. New York Times เลยได้รวมเรื่องเล่าของหลากคนจากหลายมุมโลกใน 'Stories of Sex and Consent' เพื่อบอกว่าความยินยอมนั้นไปไกลกว่าการบอกว่า “โอเค” หรือ “ไม่โอเค”
15
16
17
18
19
20
21
เมื่อ LGBTQ+ ไม่เพียงถูกริดรอน visibility ในโลกแห่งความจริง แต่ยังตัวตนของพวกเขายังถูกซ่อนในโลกออนไลน์ด้วย
TikTok แอพของจีน ยอมรับแล้วว่า Shadowban (ติดเงา) วิดิโอที่มีแฮชแท็กเกี่ยวกับ LGBTQ+ จริงในหลาย ๆ ประเทศที่ยัง conservative และไม่ยอมรับความหลากหลายทางเพศ #ติ๊กต๊อก
22
23
24
25
จากกระแสสองแฮชแท็กดัง #แบนเมียจำเป็น และ #ข่มขืนผ่านจอพอกันที เกิดเป็นการวิพากษ์ไปทั่วถึงละครไทยที่ยังคงมีลักษณะสนับสนุนให้เกิด “วัฒนธรรมการข่มขืน” (Rape Culture) อยู่ วันนี้ เราจะพามาดูต้นเรื่องของดราม่านี้ รวมไปถึงสาเหตุที่ว่า #ทำไมควรเลิกสนับสนุนวัฒนธรรมการข่มขืน อีกด้วย