51
ทุกคนสามารถอ้วกได้โดยไม่ต้องมานั่งคิดว่าจะมีใครคอยสำรวจเป็นตำรวจตรวจคุณภาพอ้วก เพราะท้ายที่สุด สิ่งที่สำคัญจริงๆ ก็คือ ‘สาเหตุที่อ้วก’ ไม่ใช่ ‘รสชาติอ้วก’ เหมือนที่ใครกล่าวอ้างแต่อย่างใด
52
ตัวอย่างความย้อนแย้งในการพยายามประนีประนอม (ซึ่งไม่เกิดขึ้นจริง) ที่ชัดเจนที่สุดก็คือ บทความต้นทางเองที่ทุกครั้งก่อนจะเอ่ยถึงสิ่งที่ตนคิด จะมีการกล่าวอ้างว่ายอมรับการกระทำนั้นๆ ก่อนไม่ว่าจะเป็น;
53
(1) การเป็น ‘นักฉอด’ หรือ ‘อ้วก’ เป็นสิ่งที่พึงกระทำได้ - แต่ก็ไม่รังสรรค์การขับเคลื่อนสังคม ซ้ำยังเป็นความอุจาดส่งกลิ่นคละคลุ้งทั่วพื้นที่ออนไลน์ (2) เป็นเรื่องที่ดีที่ความคิดในสังคมจะแตกต่างและหลากหลาย-แต่การแตกหน่อนี้ก็ไม่ได้นำไปสู่การขับเคลื่อนสังคมแต่อย่างใด และ
54
#Diversity - ความหลากหลายหนึ่งที่มนุษย์ควรตระหนักไม่ได้กระจุกแค่เพียงเรื่องของ สีผิว ชาติพันธุ์ และรสนิยมทางเพศเท่านั้น แต่ยังมีประเด็นเรื่องความหลากหลายทางความคิดด้วย การตีตราว่า “การแตกหน่อจากความไม่เผาผีเช่นนี้มักจะไม่ได้นำไปสู่การขับเคลื่อนของสังคมเท่าไรนัก” ไม่ต่างจาก-
55
การชี้บอกให้ทุกความคิดหันหน้าเข้าหากัน ก่อนจะพูดคุยกันเยี่ยงผู้มีอารยะ ซึ่งหากอ่านโดยผิวเผินก็ดูจะคล้อยตามได้ง่ายและฟังดูเข้าที แต่ในความเป็นจริงแล้ววิธีคิดแบบนี้ต่างหากที่เป็นวิธีคิดซึ่งมักไม่นำไปเกิดการขับเคลื่อนของสังคมแต่อย่างใด-
56
ข้อน่าสังเกตก็คือ - Tone Policing มักจะถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือตอบโต้โดยบุคคลที่มีอำนาจต่อรองเหนือกว่า เนื่องจากตนไม่ได้เป็นผู้รับประสบการณ์ความเจ็บปวดนั้นแต่อย่างใด อภิสิทธิ์แห่งการเพิกเฉยต่อเนื้อความนั้นจึงถูกแสดงออกมาผ่านข้อกล่าวหาที่บอกว่าผู้เปล่งเสียงนั้นตะคั้นตะคอก-
57
โดยไม่สังเกตเลยว่าอากัปการตะคั้นตะคอก แท้ที่จริงก็เกิดจากสภาวะการถูกกดขี่ทั้งสิ้น ดังนั้น จึงไม่มีเหตุผลใดที่เหมาะสมพอจะสามารถนำพาข้อกล่าวหานี้ออกจากการจัดกลุ่มคำถามประเภทที่แสดงถึงความเขลาอันเกิดจากการเพิกเฉย (Ignorance) ได้ทั้งสิ้น
58
#TonePolicing - ในย่อหน้าที่ 2 ผู้เขียนได้ตั้งข้อสงสัย “ทำไมจึงต้องมีการตะเบ็งเสียงจนลดทอนความน่าเชื่อถือของสิ่งที่ตนเองต้องการจะนำเสนอด้วย” วิธีคิดนี้เป็นวิธีคิดที่มีชื่อว่า Tone Policing (หรือบางครั้งก็ใช้ Tone Argument) ซึ่งถือเป็นหนึ่งในหลักตรรกะวิบัติ (Illogical Fallacy) -
59
ที่ว่าด้วยการมุ่งเน้นโจมตีบุคคล (Ad Hominem) แทนที่จะเป็นการพิจารณาเนื้อความ ทำความเข้าใจ และทำการสนทนาถึงปัญหานั้นๆ
60
61
#GenderNotesbySpectrum เรื่องเพศผ่านภาพ chapter 2 - ชวนทบทวนคำศัพท์เกี่ยวกับ 'Sexual Violence' หรือความรุนแรงทางเพศ ที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ทุกที่ ทั้งในและนอกความสัมพันธ์
**หมายเหตุ เนื้อหาเกี่ยวข้องกับความรุนแรง การข่มขืน**
62
63
64
รู้ไหม #EnforcedDisappearance ‘ปัญหาการถูกอุ้มหาย’ ที่เกิดขึ้นในไทยนี้ คือสิ่งที่สากลโลกถือว่าป็น ‘Crime Against Humanity’ หรือ ‘อาชญากรรมที่ต่อมนุษยชาติ’ ซึ่งถูกบันทึกในร่างกฎหมายอาชญากรรมระดับนานาชาติ (International Criminal Law) ตั้งแต่ในปี 2002
65
66
67
68
@joisyours ดูคลิปเต็มๆ ได้ทางfacebook fb.watch/385V-Zwgux/ กับฝากติดตามtwitterของspectrumด้วยน้า
69
#SEXOLOGY เปิดความรู้ทางวิชาการของเซ็กซ์ที่น่าสนใจ สรุปจาก ‘BBC Future’ รวมข้อมูลวิจัยหลายๆ ที่ เรื่อง ‘เซ็กซ์ข้ามสายพันธุ์’ ระหว่าง ‘นีอันเดอทัล’ (Neanderthal) กับ ‘มนุษย์สมัยใหม่ตอนต้น’ (Early Modern Human) #HistoryOfSex #HumanEvolution (1)
70
71
#GenderNotesbySpectrum เรื่องเพศผ่านภาพ chapter 1 - ‘Sex’ และ ‘Gender’ ที่ในภาษาไทย มักจะเรียกรวมกันเป็นคำเดียวว่า ‘เพศ’ นั้น จริงๆ แล้วมันเหมือนกันและใช้แทนกันได้แน่เหรอ? ประโยค ‘I see no gender’ มีปัญหายังไง? Gender blindness, Gender Awareness และคำศัพท์อื่นๆ เกี่ยวกับ ‘เพศ’
72
เมื่อ IG เหยียดคนอ้วน!#DontDeleteMyBody - ถูกใช้เพื่อตั้งคำถามกับอินสตาแกรม เมื่อมีเหตุการณ์ที่อัลกอริทึมไปเซนเซอร์ไม่ให้โพสต์ภาพนู้ดคนอ้วนและคนดำ ในขณะที่ภาพนู้ดของคนขาวและคนผอมกลับไม่โดนเซนเซอร์ จนเกิดเป็นประเด็นถกกันไปทั่วโลกออนไลน์อย่างหนักตั้งแต่ปีที่แล้ว
73
#SEXOLOGY : 30 Porn Glossary มาดูกันว่าคำศัพท์อะไรที่น่าสนใจบ้าง! #Pornography มาจากรากกรีกโบราณ 2 คำคือ ‘pornē’ (โสเภณี) + ‘graphein’ (การเขียน/บันทึก) = ‘การเขียนหรือการบันทึกภาพที่บรรยายวิถีชีวิตของโสเภณี’ ทว่าพอ C19 ความหมายขยายเป็น ‘เนื้อหาที่กระตุ้นกามในศิลปะและวรรณกรรม'
74
75