151
วลีฮิตในคณะ อย่าง ‘No pain, No gain’ ถูกนำมาใช้สร้างความชอบธรรม หรือการอ้าง ‘ประสบการณ์’ ว่าอาจารย์ผ่านมาแล้ว ทำไมคุณทำไม่ได้ เรื่องแค่นี้เอง ทำไมไม่อดทน
152
#ข่มขืนผู้เยาว์ (Child Rape) เหตุการณ์หนึ่งที่สร้างความสะเทือนใจที่สุดและทำให้พอร์นฮับถูกวิพากษ์วิจารณ์ไปในวงกว้างก็คือ กรณีของเด็กอายุ 15 ปีที่หายตัวไปเป็นเวลากว่า 1 ปี จนกระทั่งมีคนไปเจอคลิปวิดีโอเด็กคนดังกล่าวถูกข่มขืนและถูกคุกคามทางเพศเผยแพร่บนเว็บไซต์พอร์นฮับกว่า 58 คลิป
153
154
"Toxic Masculinity": ผู้เขียนพยายามแสดงให้เห็นว่าคำว่า "Men" หรือ “ผู้ชาย” ไม่ใช่ Male หรือเพศทางชีววิทยา ไม่ใช่ทเพศกำเนิดชายทุกคน แต่หมายถึงผช.ที่มีภาวะ Toxic Masculinity หรือความเป็นชาย (gender) ที่เป็นพิษที่เกิดจากการประกอบสร้างทางสังคม (social construct) ในสังคมชายเป็นใหญ่
155
#ความสองมาตรฐานทางเพศ – วิลคินสันยังได้พูดถึงกฎการแต่งกายที่ไม่เหมือนกันระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย ซึ่งเป็นการตีกรอบทางเพศที่ไม่ได้อยู่บนหลักการหรือเหตุผลใดๆ เลย นอกจากขนบแบบเก่าที่สร้างความเป็นชายให้แตกต่างกับความเป็นหญิงให้ได้มากที่สุด
156
ทางเราขอเป็นหนึ่งในเสียงที่ยืนตรงข้ามทุกต้นเหตุที่นำไปสู่อาชญากรรมจากความเกลียดชัง และทุกการกระทำที่ไร้ซึ่งมนุษยธรรม
157
“เราควรที่จะต้องเท่าเทียมกัน ไม่ใช่ถูกกดทับทางเสรีภาพในการแสดงออก ไม่ใช่ว่าเสียงของเราไม่ถูกปิดกั้นเพราะว่าพวกผู้ใหญ่กำลังถอยหลังกลับสามก้าว แทนที่จะเดินไปข้างหน้า” - วิลคินสันกล่าววิพากษ์คนรุ่นเก่าปิดท้ายสุนทรพจน์
158
159
Men are trash จึงไม่ได้กระทบผู้ที่มีเพศกำเนิดชายทุกคน แต่หมายรวมถึงโจมตีทุกคน ทุกเพศที่มี Toxic masculinity และเอาความเชื่อแบบนี้แล้วไปกดทับคนอื่น แต่พอเป็นไวยกรณ์ภาษาไทยเรานั้น จึงจะเกิดความสับสนอยู่มาก เข้าใจผิดว่าด่าทุกคนที่มีเพศกำเนิดชาย
160
Men are trash = Hate speech? - คำพูดใดๆ ก็ตามจะนับว่าเป็น Hate speech ก็ต่อเมื่อทำอันตรายต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น เพิ่มความเกลียดชังที่จะซ้ำเติมการเลือกปฏิบัติ แต่ในระบอบที่ผู้ชายมี privilege กว่าผญ.อยู่แล้วแทบทุกกรณี คำว่า Trash ไม่ได้ไปเพิ่ม stereotype ที่จะกระทบชีวิตผช.ในแง่ลบ
161
(1) การเป็น ‘นักฉอด’ หรือ ‘อ้วก’ เป็นสิ่งที่พึงกระทำได้ - แต่ก็ไม่รังสรรค์การขับเคลื่อนสังคม ซ้ำยังเป็นความอุจาดส่งกลิ่นคละคลุ้งทั่วพื้นที่ออนไลน์ (2) เป็นเรื่องที่ดีที่ความคิดในสังคมจะแตกต่างและหลากหลาย-แต่การแตกหน่อนี้ก็ไม่ได้นำไปสู่การขับเคลื่อนสังคมแต่อย่างใด และ
162
163
#ผู้ชายกับเทรนด์การทาเล็บที่กำลังมาแรง - ช่วงปี 2020 นี้ก็ถือเป็นปีที่ผู้ชายนิยมหันมาทาเล็บมากขึ้นอยากเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นนักร้องดังอย่าง Harry Styles, Troye Sivan, Lil Nas X หรือ Bad Bunny ก็หันมาเกาะเทรนด์การทาเล็บกันอย่างภาคภูมิใจ
164
ถึงแม้ว่า TikTok จะขึ้นชื่อว่าเป็นแอพที่มีความเหนียวแน่นของชุมชน LGBTQ+ มากจนกลายเป็นว่ามีกลุ่ม gay tiktok อย่างไม่เป็นทางการเกิดขึ้น แต่งานวิจัยพบว่า TikTok กลับละเมิด free speech ของคนกลุ่มนี้ในหลาย ๆ ประเทศโดยการซ่อนวิดีโอที่มีแท็กภาษาถิ่น เช่น คำว่า เกย์, เลสเบี้ยน, คนข้ามเพศ
165
166
“Role Play is Play” - การจำลองบทบาทเป็นคำที่ต้องตระหนักอยู่เสมอ โดยไม่ลืมให้ความสำคัญกับทุกเนื้อคำ เพราะมันหมายความถึงการ ‘สวมบทบาทสมมติ’ ที่ไม่เกิดในชีวิตประจำวัน ซึ่งการจำลองบทบาทสมมติอย่าง ‘Pet Play’ เองก็อยู่ในรสนิยมทางเพศแบบ BDSM
167
วันนี้สเปกตรัมได้เชิญ ‘ภิกษุชาย วรธัมโม’ หนึ่งในนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนและความหลากหลายทางเพศในฐานะพระสงฆ์ มาร่วมสทนาคุยเกี่ยวกับเหตุการณ์ “พระตุ๊ด” และหัวข้อที่ว่า ศาสนาพุทธจะปรับตัวได้อย่างไรบ้างให้ทันกับสังคมที่มีความหลากหลายทางเพศ ตามได้ที่นี้เลย: bit.ly/3cKq39o
168
เรื่องนี้เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 23 ม.ค. ที่ผ่านมา เกิดเหตุลูกค้าร้านชาบูท่านหนึ่งที่เป็นผู้หญิงข้ามเพศได้โอนเงิน 1 บาทจ่ายเป็นค่าอาหารแทนราคาเต็ม จนเกิดเป็นการตามหาตัวไปทั่วโลกออนไลน์ จนเจ้าตัวกลับมาจ่ายเงิน พร้อมขอโทษทางร้าน
169
โดยไม่สังเกตเลยว่าอากัปการตะคั้นตะคอก แท้ที่จริงก็เกิดจากสภาวะการถูกกดขี่ทั้งสิ้น ดังนั้น จึงไม่มีเหตุผลใดที่เหมาะสมพอจะสามารถนำพาข้อกล่าวหานี้ออกจากการจัดกลุ่มคำถามประเภทที่แสดงถึงความเขลาอันเกิดจากการเพิกเฉย (Ignorance) ได้ทั้งสิ้น
170
171
หลังจากนั้นก็มีนักข่าวท่านหนึ่งติดต่อมา พยายามจะสัมภาษณ์ แต่ทางเจ้าตัวไม่ยินยอมจะให้สัมภาษณ์ นักข่าวจึงได้ข่มขู่และคุกคาม ซึ่งเมื่อถูกตามหนักขึ้นเธอจึงติดต่อไปยังคุณ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิความหลากหลายทางเพศเมื่อวันที่ 27 ม.ค.
172
ล่าสุด นักเรียนคนนี้ได้สร้างแคมเปญในเว็บ Change./org เพื่อให้คนลงชื่อสนับสนุนการอนุญาตให้ผู้ชายทาเล็บไปโรงเรียนได้ ซึ่งก็มีคนลงชื่อร่วมแสดงพลังกว่า 350,000 คนแล้ว
173
ในหลักสูตรเพศศึกษาใหม่ที่ไม่ใช่แค่ชาย - หญิงนี้ ครูจะต้องสอนเรื่องเพศ สุขภาพ และความสัมพันธ์ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเพศ เพื่อสร้างความตระหนักเรื่องความหลากหลาย โดยผู้ปกครองของนร.ประถมและม.ต้นจะไม่สามารถยกเว้นบทเรียน LGBT+ ของลูกได้ นอกเสียจากจะถอนออกไปจากวิชาเพศศึกษาเลย
174
แต่ก็มีหลายคนที่สนับสนุนแนวคิดมีปัญหาเหล่านี้อยู่ เช่น “กะเทยส่วนใหญ่ดีเก่งน่ารัก แต่ที่มาม็อบ หรือ สส.เรียงเบอร์หลายคน เป็นเพศทางเลือกที่ไม่เลือกทำดี ทำให้เขามองแย่” “มันทำในสิ่งที่แปลก” “ถึงว่าสิคะ มีเพศอื่นเยอะ บอลนี่ก็เพศ 3 แรกนึกว่าผู้ชาย กะปิบูดอีกคนไม่รู้แอบจิตไหม”
175
พูดให้เห็นชัดๆ ผู้ชายทำงานบ้านมักจะถูกล้อหรือล้อตัวเองว่าเพราะกลัวเมีย เมียสั่งให้ทำ ฯลฯ ซึ่งจริงๆ งานบ้านโดยเฉพาะในคู่ที่ทำงานนอกบ้านทั้งคู่ เป็นสิ่งที่ควรจะแบ่งกันทำอยู่แล้วไม่ใช่หรือในความสัมพันธ์หนึ่ง? การยังมีภาพฝังหัวว่างานบ้านเป็นของผู้หญิงเท่านั้นก็คือ patriarchy ชัดๆ เลย