SpectrumTH(@spectrum_thai)さんの人気ツイート(いいね順)

126
Many of you have requested an English translation of the #แบนF4 (#CancelF4) thread, so here it is! We see you 👀 twitter.com/spectrum_thai/…
127
“ความโล่งใจจากการเป็นประจำเดือนอันสุดแสนจะประณีต” (Sophisticated Menstrual Relief) นี่คือหนึ่งในคำชื่นชมต่อแคมเปญนี้ มาพร้อมคำชมอื่นๆ มากมายจากผู้คน
128
อย่างไรก็ตาม แคมเปญนี้ดูจะไม่ได้เป็นที่ถูกใจทุกคนนัก เพจ ‘Sheologians’ - เพจที่รวบรวมนักอนุรักษ์นิยมสมัยใหม่ได้ออกมาโจมตีแคมเปญดังกล่าวอย่างดุเดือดเช่นกัน “นี่คือความเกลียดชังต่อการสร้างผู้หญิง (โดยพระเจ้า)”
129
#ProudBoys” 🌈 ขึ้นเทรนด์จนเป็นปรากฏการณ์ครั้งใหญ่ในการเคลื่อนไหวของชุมชน LGBT+ ในอเมริกากับการที่คนที่สนับสนุนความหลากหลายทางเพศมากมายโพสต์รูปฉลองความรักพร้อมแฮชแท็กนี้ ซึ่งแต่เดิมเป็นชื่อกลุ่มของคนที่เชื่อว่า ‘คนผิวขาวสูงส่งกว่าผิวสีอื่น’ (White Supremacist)
130
วันนี้ (11 ต.ค.) เป็นวัน National Coming Day หรือวันเปิดเผยตัวตนแห่งชาติ เพราะการคัมเอาท์ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยสำหรับหลายๆ คน การคัมเอาท์ของแต่ละคนจึงแตกต่างกันไป บางคนเรียบง่าย บางคนเสียน้ำตา บางคนต้องรวบรวมความกล้าอย่างมาก ยังจดจำวันนั้นกันได้ไหม? มาร่วมเฉลิมฉลองตัวตนไปด้วยกัน
131
โดยให้เหตุผลว่า การเป็นประจำเดือนนั้นสื่อถึงการมีมดลูกของผู้หญิงที่เป็นดั่งแหล่งผลิตเผ่าพันธุ์มนุษย์ตามประสงค์ของพระเจ้า ฉะนั้น การกล่าวว่าผู้ชายก็เป็นประจำเดือนได้ถือเป็นการละทิ้งความหมายซึ่งถูกหยิบยื่นโดยพระผู้เป็นเจ้า (God-given meaning) ทั้งสิ้น
132
SEX EDUCATION: “ทำไมเราถึงไม่ได้อยู่ในเพศศึกษาของคุณ” “นักเรียนข้ามเพศไม่ควรถูกลบหาย” นี่คือข้อความจากการประท้วงเพื่อสิทธิของทรานส์โดยกลุ่มนักเรียน ม.ปลายสิงคโปร์ที่หน้ากระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันก่อน (26 ม.ค. 2021) #FixSchoolsNotStudents
133
วันนี้คือวัน Transgender Day of Remembrance (TDOR) หรือวันรำลึกถึงคนข้ามเพศที่ถูกฆาตกรรมด้วยเหตุแห่งความเกลียดชัง . 386 คือตัวเลขของคนข้ามเพศที่ถูกฆ่าทั่วโลกในปีนี้ 129 คือตัวเลขของคนข้ามเพศที่ถูกฆ่าในบราซิล 26 คือตัวเลขของทรานส์เจนเดอร์ผิวดำหรือละตินอเมริกาที่ถูกฆ่าในอเมริกา
134
เมื่อวันที่ 14 พ.ย. มีงาน #MobFest กับ “การรวมตัวครั้งสำคัญของภาคีนักเรียน นักศึกษา และประชาชนกว่า 20 เครือข่าย ผู้เชื่อใน 3 ข้อเรียกร้องหลัก” โดยให้ร่วมกันแชร์สิ่งที่อยากเห็นในรธน.ใหม่ #แก้ได้ถ้าแก้รัฐธรรมนูญ เราจึงรวบรวมเสียงของคนหลากหลายที่บอกถึงความปรารถนาของพวกเขามาให้ได้ฟัง
135
ข้อน่าสังเกตก็คือ - Tone Policing มักจะถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือตอบโต้โดยบุคคลที่มีอำนาจต่อรองเหนือกว่า เนื่องจากตนไม่ได้เป็นผู้รับประสบการณ์ความเจ็บปวดนั้นแต่อย่างใด อภิสิทธิ์แห่งการเพิกเฉยต่อเนื้อความนั้นจึงถูกแสดงออกมาผ่านข้อกล่าวหาที่บอกว่าผู้เปล่งเสียงนั้นตะคั้นตะคอก-
136
#TonePolicing - ในย่อหน้าที่ 2 ผู้เขียนได้ตั้งข้อสงสัย “ทำไมจึงต้องมีการตะเบ็งเสียงจนลดทอนความน่าเชื่อถือของสิ่งที่ตนเองต้องการจะนำเสนอด้วย” วิธีคิดนี้เป็นวิธีคิดที่มีชื่อว่า Tone Policing (หรือบางครั้งก็ใช้ Tone Argument) ซึ่งถือเป็นหนึ่งในหลักตรรกะวิบัติ (Illogical Fallacy) -
137
เหตุการณ์ดังกล่าวชัดเจนว่าเป็นอาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชัง (Hate Crime) โดยมุ่งไปที่อัตลักษณ์ของผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ แทนที่จะมุ่งวิจารณ์ถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้น โดยมีรากฐานเป็นความเกลียดชังหลายรูปแบบ ในเหตุการณ์นี้แยกได้เป็นความเกลียดกลัวต่อคนข้ามเพศ (Transphobia)
138
(2) นักเรียนไทยไม่ได้ถูกปลูกฝังให้มีส่วนร่วมทางการเมือง แต่กลับถูกจัดสรรหน้าที่และคาดหวังว่าต้องทำสิ่งที่ควรทำตามวัย เมื่อนร./นศ.เริ่มเคลื่อนไหวเพราะกังวลถึงความก้าวหน้าของประเทศ คนรุ่นก่อนก็คิดว่ายังเด็กเกินไปและไม่มีวุฒิภาวะมากพอ มักจะไล่กลับไป “ทำหน้าที่เด็ก” ตามที่รัฐกำหนดให้
139
SEX EDUCATION: “ทำไมคำว่า “จิ๋ม” ในภาษาฝรั่งเศสถึงเป็นเพศชายล่ะ จิ๋มควรจะเป็นเพศหญิงเพื่อแสดงอำนาจและความแตกต่างที่ชัดเจนในสตรีเพศไม่ใช่เหรอ?
140
โดยรัฐเท็กซัส ซึ่งอยู่ทางใต้ของประเทศอเมริกานั้นถือเป็นรัฐที่มีอุดมการณ์ส่วนใหญ่ค่อนไปทางฝั่งอนุรักษ์นิยมและยังเป็นรัฐที่ไม่มีกฎหมายห้ามการเลือกปฎิบัติต่อคนหลากหลายทางเพศ ไม่ว่าจะเป็น
141
พม่ายังไม่มีสมรสเท่าเทียม - ในปี 2014 ‘Tin Ko Ko’ กับ ‘Myo Min Htet’ คู่รักเพศเดียวกันชาวพม่าจัดงานแต่งงานขึ้น เป็นที่ฮือฮามากในสื่อจนทำให้กลุ่มอนุรักษ์นิยมพม่าจำนวนมากออกมาต่อต้าน และตั้งคำถามถึงว่าทำไมไม่มีการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการรักเพศเดียวกันกับพวกเขา
142
(3) ผู้ปราศรัยใช้อคติที่สังคมมีต่อกลุ่ม LGBT+ และภาพเหมารวมผิดๆ เพื่อทำให้การเคลื่อนไหวของนักศึกษาเสียความน่าเชื่อถือ ซึ่งนี่เป็นวาทกรรมที่เห็นกันบ่อยครั้งกับการโทษเหตุการณ์ที่หลายคนมองว่า"ไม่ปกติ"หรือ"ไม่สงบ"ในสังคมให้เป็นความผิดของกลุ่มคนชายขอบที่ถูกตีตราอยู่แล้ว (Scapegoating)
143
SPECTROSCOPE: Queer Marriage - แต่งงานนอกขนบเดิมแต่งงานแล้วได้อะไร? ทำไมอัตราการแต่งงานน้อยลงทั่วโลก? แล้วจะแต่งงานกันแบบหลายๆ คนได้ไหม? ไม่แต่งงานแล้วแต่ให้สิทธิครอบคลุมทุกความสัมพันธ์ได้ไหม? หรือการแต่งการตามขนบมันไม่ตอบโจทย์มนุษย์ที่หลากหลายอีกต่อไปแล้ว?
144
“ทำไมมันถึงผิดกฎที่ผู้ชายจะรู้สึกมั่นใจกับความเป็นชายของเขา และต่อต้านบรรทัดฐานทางเพศที่สังคมพยายามจะยัดเยียดให้? ทำไมมันถึงจะเป็นเรื่องอันตรายที่ผมจะทาเล็บ ถ้ามันไม่ได้อันตรายอะไรเวลาผู้หญิงทาเล็บ ทำไมผู้ชายทำถึงมีปัญหาล่ะ?”
145
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา ศาลรัฐบาลกลางตัดสินให้ชายมาเลเซียคนหนึ่งชนะคดีฟ้องรัฐว่ากฎหมายชารีอะห์ของรัฐเป็นโมฆะ เนื่องจาก 'การมีเซ็กซ์กับเพศเดียวกัน' เป็นความผิดใต้กฎหมายรัฐบาลกลางที่มีมาตั้งแต่สมัยอาณานิคมอังกฤษอยู่แล้ว โดยศาลกล่าวว่าเป็นการออกกฎหมายทับซ้อน
146
SPECTRUM OF HUMAN: Zumrat Dawut - หญิงลี้ภัยชาวอุยกูร์ ผู้ถูกกักกันในซินเจียงกว่า 2 เดือน และถูก ‘บังคับ’ ให้ทำหมัน - “หลังจากที่ฉันหนีออกมาจากจีน ฉันตั้งใจที่จะเป็นกระบอกเสียงของพวกเรา” เสียงจาก 'ดาวุท' ชาวอุยกูร์ที่รอดจาก “ค่ายปรับทัศนคติ” (re-education camps) เมืองซินเจียง,จีน
147
ที่ว่าด้วยการมุ่งเน้นโจมตีบุคคล (Ad Hominem) แทนที่จะเป็นการพิจารณาเนื้อความ ทำความเข้าใจ และทำการสนทนาถึงปัญหานั้นๆ
148
ชวนคุยกับ ‘ฟอร์ด’ ทัตเทพ เรืองประไพกิจเสรี ผู้ร่วมก่อตั้งเยาวชนปลดแอก และคนรัก ‘เจมส์’ - ภานุมาศ สิงห์พรม กับการต่อสู้ร่วมอุดมการณ์เพื่อเสรีภาพ พร้อมส่งเสียงให้ LGBTQ+ ที่สนับสนุนอำนาจนิยมเข้าใจว่าประชาธิปไตยเท่านั้นที่จะให้สิทธิกับทุกคน’อย่างเท่าเทียม’ ➡️ bit.ly/3nWcw3M
149
‘Kink shaming’ เป็นการดูถูกคนจากรสนิยมทางเพศของคนๆ หนึ่งโดยที่ทำให้เขารู้สึกอับอายการกระทำทางเพศของตัวเอง แน่นอนว่าสิ่งนี้เป็นปัญหาเพราะทำให้คนที่มีรสนิยมเซ็กซ์ทางเลือกไม่กล้าเปิดเผยตัว ไม่สามารถใช้ชีวิตตามปกติของตัวเองได้ และนั่นทำให้เกิดกระแสถกเถียงเรื่อง ‘Kink’ อยู่บ่อยครั้ง
150
ปี 2020 ที่ผ่านมาทั่วโลกต้องหยุดชะงักไปเพราะโควิด-19 แต่สถานการณ์สิทธิของกลุ่ม LGBT+ ก็ยังมีความเคลื่อนไหวอยู่เรื่อยๆ ทั้งก้าวหน้าไปในทางที่เท่าเทียมขึ้นและโดนลิดรอนสิทธิจนแย่ลง เราจึงได้รวมความคืบหน้าที่สำคัญเกี่ยวกับสิทธิของ LGBT+ ในปีนี้มาให้ดูว่ายังเหลืออะไรที่ต้องแก้ไขบ้าง