101
ถ้อยคำส่วนหนึ่งจากการปราศัย: “เด็กพวกนี้นะครับ อเมริกามันหมายมั่นปั้นมือ มันคอยมอง ไอ้เด็กคนไหนหัวแข็ง ไอ้เด็กคนไหนเป็นคนเลว ไม่ชอบเรียนหนังสือ ชอบด่ารัฐบาล ไม่เคารพพ่อแม่นะครับ ต่อต้านการเรียนหนังสือ แล้วปากจัดๆ หน่อยนะครับ เน้นนิดนึงส่วนใหญ่พวกนี้จะกะเทยนิดนึง ปากจัดๆ นะ”
102
ต่อมาเธอจึงค่อยๆ ซึมซับและเรียนรู้ว่า ความงามนั้นล้วนเกิดจากกระบวนการสร้างทางสังคม (Social Construction) ยอมรับตัวเองให้ได้ด้วย นี่คือจุดแรกที่จะทำให้ตัวเองเกิดความสุขในทุกๆ รูปแบบของร่างกาย
103
"ฉันเริ่มทำโปรเจกต์ตั้งแต่ปี 2018 เพื่อถ่ายภาพตัวเองในทั้ง 365 วันก็เพราะว่า ฉันอยากหาอะไรมาทำให้ตัวเองยุ่งๆ เพื่อที่จะได้ไม่ตกอยู่ในสภาวะซึมเศร้า เป้าหมายแรกของฉันคือแค่ถ่ายเก็บภาพตัวเองในทุกๆวันไปเรื่อยๆ แล้วโพสต์ลงอินสตาแกรม ฉันพยายามถ่ายภาพร่างกายของตัวเองในมุมต่างๆ มากขึ้น—
104
8 มีนาคม - International Women's Day ‘วันสตรีสากล’
.
โดยธีมปีนี้คือ “#ChooseToChallenge” โดยเป็นแคมเปญให้ถ่ายรูปแบฝ่ามือแล้วชูขึ้น เพื่อเป็นการแสดงออกที่ว่า เราจะท้าทายต่ออคติทางเพศและความไม่เท่าเทียมทุกชนิดอีกด้วย
105
“หนึ่งในลูกค้าแรกๆ ของเราเลยก็คือ ผู้ชาย และในฐานะของการเป็นแบรนด์ พวกเราก็ถือว่านี่คือความรับผิดชอบของเราที่จะต้องกระจาย (ข้อเท็จจริง) ข้อนี้เช่นเดียวกัน”
106
ที่เราต้องยอมรับร่างกายของตัวเองให้ได้" อินเดจึงได้นำ ‘การถ่ายภาพ’ มาช่วยให้เกิด ‘ยอมรับ’ ในร่างกายของตัวเองและค่อยๆ ลบล้างทุกความเชื่อที่สังคมมอง (ต่อ)
107
108
109
110
เมื่อฟังคำปราศัยแล้วก็ทำให้เกิดคำถามขึ้นว่า: อเมริกาล้างสมองเด็ก? ด่ารัฐบาล=ไม่ชอบอ่านหนังสือ? กะเทย=ปากจัด? ม็อบศึกษา=กะเทยหมด? ผู้หญิงไปม็อบ=ทอม? กะเทยทอมแล้วจะทำไม?
111
เดือนนี้คือเดือนแห่งการรำลึกประวัติศาสตร์ของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ+ History Month) เราเลยมาแนะนำหนังสือ ‘Loving: A Photographic History of Men in Love 1850s-1950s’ ซึ่งรวบรวมภาพของคู่รักเกย์ในช่วงกว่าร้อยปีที่ไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน
ดูภาพเพิ่ม: bit.ly/359ROVu
112
113
แม้จะมีตัวแทนรัฐลงชื่อว่าจะแก้ปัญหานี้อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว แต่เราก็ยังแน่นอนใจไม่ได้ เพราะสิ่งที่เคยเกิดขึ้นมากับชุมชนบางกลอย ไม่ว่าจะเป็น การอ้างว่าชาวบ้านบุกรุกป่า เอากองกำลังเข้าคุกคาม ชาวบ้านถูกเผาบ้าน คนเรียกร้องสิทธิเสียชีวิต นั้นโหดร้ายมาก โปรดจับตาดู #Saveบางกลอย
114
ชวนอ่านเรื่องราวการถูกกดขี่ทางอัตลักษณ์ที่ทับซ้อนของคุณ ‘นับดาว องค์อภิชาติ’ ผู้หญิงข้ามเพศหูหนวกกับความฝันที่ถูกพับไปเพราะสวัสดิการไม่มี และประสบการณ์การโดนกีดกันทั้งจากสังคมและจากกลุ่ม LGBT+ ด้วยกันเอง ตลอดจนภาพสังคมที่เธออยากจะเห็น
➡️อ่านได้ที่นี่: bit.ly/34kq2X9
115
คำพูดปราศัยนี้สะท้อนได้ว่า (1) กลุ่มอนุรักษ์นิยมหลายๆ คน มักเคยชินกับการที่รัฐบาลอเมริกาแทรกแซงการเมืองในประเทศอื่น โดยเฉพาะประเทศที่มองว่าด้อยพัฒนา ตามความเชื่อแบบ ‘White Savior’ คือคนขาวที่มี “ความเจริญ” มากกว่าต้องช่วยคนที่ยัง "ไม่มีอารยธรรม"
116
หนึ่งคำชมที่น่าสนใจก็เช่น “นี่คือหนึ่งในแคมเปญทางด้านร่างกายที่ดีที่สุดที่ชี้ให้เห็นว่า ประจำเดือนไม่ใช่แค่เรื่องของเพศใดเพศหนึ่ง เพราะร่างกายกับเพศภาวะ (Gender) เป็นเรื่องที่แยกขาดจากกันได้นั่นเอง”
117
‘คงมีแค่ในธรรมชาติที่เราจะได้เป็นตัวของตัวเองอย่างสบายใจ’ - ในช่วงชีวิตของวัยรุ่น เป็นช่วงเวลาที่ต่างคนต่างหาต่างเรียนรู้เกี่ยวกับตัวตนของตัวเองในมิติต่างๆ ภาวะเปล่าเปลี่ยวแปลกแยกเกิดขึ้นในใจของวัยรุ่นที่ค้นพบว่าตัวเองมีเพศที่หลากหลาย นี่คือสิ่งที่งานของมินาฮามุสะท้อนออกมา
118
119
120
121
“จริงๆ แล้วไอ้พวกม็อบนักศึกษา เอากันอย่างนี้เลยดีกว่า กะเทยทั้งแก๊ง กะเทยทั้งหมด ไปไล่ดูได้เลยนะครับ ตั้งแต่หัวขบวนยันหางขบวนเนี่ย ผู้หญิงไม่รู้จะเป็นทอมด้วยหรือเปล่านะครับ พวกนี้จะเป็นคนเพี้ยนๆ แล้วก็เป็นเด็กเกเร เป็นเด็กหลังห้อง” อดีตผู้ช่วยส.ส.พรรคภูมิใจไทยกล่าว
122
ทุกคนสามารถอ้วกได้โดยไม่ต้องมานั่งคิดว่าจะมีใครคอยสำรวจเป็นตำรวจตรวจคุณภาพอ้วก เพราะท้ายที่สุด สิ่งที่สำคัญจริงๆ ก็คือ ‘สาเหตุที่อ้วก’ ไม่ใช่ ‘รสชาติอ้วก’ เหมือนที่ใครกล่าวอ้างแต่อย่างใด
123
จึงเอามาเชื่อมโยงว่ากลุ่มนักศึกษาไม่สามารถคิดเองได้ต้องโดนชักจูงหรือ "ล้างสมอง" โดยอเมริกา (แต่ไม่คิดเลยเหรอว่านักศึกษากำลังเรียกร้องหลักสิทธิมนุษยชนสากล?)
124
125