126
127
128
อย่างไรก็ตาม แคมเปญนี้ดูจะไม่ได้เป็นที่ถูกใจทุกคนนัก เพจ ‘Sheologians’ - เพจที่รวบรวมนักอนุรักษ์นิยมสมัยใหม่ได้ออกมาโจมตีแคมเปญดังกล่าวอย่างดุเดือดเช่นกัน “นี่คือความเกลียดชังต่อการสร้างผู้หญิง (โดยพระเจ้า)”
129
130
131
SEX EDUCATION: “ทำไมเราถึงไม่ได้อยู่ในเพศศึกษาของคุณ” “นักเรียนข้ามเพศไม่ควรถูกลบหาย” นี่คือข้อความจากการประท้วงเพื่อสิทธิของทรานส์โดยกลุ่มนักเรียน ม.ปลายสิงคโปร์ที่หน้ากระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันก่อน (26 ม.ค. 2021) #FixSchoolsNotStudents
132
"Toxic Masculinity": ผู้เขียนพยายามแสดงให้เห็นว่าคำว่า "Men" หรือ “ผู้ชาย” ไม่ใช่ Male หรือเพศทางชีววิทยา ไม่ใช่ทเพศกำเนิดชายทุกคน แต่หมายถึงผช.ที่มีภาวะ Toxic Masculinity หรือความเป็นชาย (gender) ที่เป็นพิษที่เกิดจากการประกอบสร้างทางสังคม (social construct) ในสังคมชายเป็นใหญ่
133
ซึ่งไม่ใช่แค่ในโลกตะวันตกที่เชื่อเช่นนี้ วัฒนธรรมอื่นๆ ในโลกก็ยังเชื่อว่าถ้า “ผู้หญิงยิ่งอ้วนยิ่งสมบูรณ์” นี่ก็เพราะการมีเนื้อมีหนังสะท้อนภาวะที่ไม่อดอยากและฐานะทางสังคมของความมั่งมี
134
“#ProudBoys” 🌈 ขึ้นเทรนด์จนเป็นปรากฏการณ์ครั้งใหญ่ในการเคลื่อนไหวของชุมชน LGBT+ ในอเมริกากับการที่คนที่สนับสนุนความหลากหลายทางเพศมากมายโพสต์รูปฉลองความรักพร้อมแฮชแท็กนี้ ซึ่งแต่เดิมเป็นชื่อกลุ่มของคนที่เชื่อว่า ‘คนผิวขาวสูงส่งกว่าผิวสีอื่น’ (White Supremacist)
135
“ฉันก็เลยหวังว่า ถ้าฉันนำเสนอภาพเหล่านี้มันจะช่วยให้คนที่รู้สึกไม่ดีกับร่างกายตัวเอง รู้สึกแย่กับการโดนบอกว่าอ้วน พวกเขาจะได้ฮีลตัวเองมากขึ้นจากการเห็นว่า เขาไม่ได้อยู่ลำพัง หรือร่างกายของคนไม่ว่าจะเป็นแบบไหนมันก็ควรได้รับการยอมรับ"
136
#ความสองมาตรฐานทางเพศ – วิลคินสันยังได้พูดถึงกฎการแต่งกายที่ไม่เหมือนกันระหว่างผู้หญิงกับผู้ชาย ซึ่งเป็นการตีกรอบทางเพศที่ไม่ได้อยู่บนหลักการหรือเหตุผลใดๆ เลย นอกจากขนบแบบเก่าที่สร้างความเป็นชายให้แตกต่างกับความเป็นหญิงให้ได้มากที่สุด
137
138
139
และเมื่อวันที่ 1 ก.พ. ที่ผ่านมา คุณนาดาก็ได้รับข้อความทางเฟซบุ๊กจากแอคเคาท์อวตารชื่อ ‘Bug Book’ ว่า “#กระเทยเฒ่าแก่จะตายแล้ว #กูว่ามึงอยู่เฉยๆดีกว่าครับ #อย่าเสือกเรื่องของกูทำเป็นคนดีช่วยเหลือน้องถ้ามึงไม่อยากเป็นแบบกระเทยหัวโปก #มึงควรหยุด พี่เตือนด้วยความหวังดีครับ”
140
อย่างเช่นความเชื่อที่ว่า “อยากแต่งงานต้องเพิ่มน้ำหนัก” ของประเทศ ‘ไนจีเรีย’ เอง ถ้าผู้หญิงอยากจะแต่งงานก็ต้องเพิ่มน้ำหนักตัวเองให้มากๆ งานของอินเดก็ทำให้หลายๆ คน คิดถึงงานศิลปะในยุคเรเนซองส์ แต่ภาพเธอนั้นมีความต่าง คือมีนัยยะที่เฉลิมฉลองความอ้วน แต่ไม่ใช่การตีตราเรื่องความผอม
141
“ทำไมมันถึงผิดกฎที่ผู้ชายจะรู้สึกมั่นใจกับความเป็นชายของเขา และต่อต้านบรรทัดฐานทางเพศที่สังคมพยายามจะยัดเยียดให้? ทำไมมันถึงจะเป็นเรื่องอันตรายที่ผมจะทาเล็บ ถ้ามันไม่ได้อันตรายอะไรเวลาผู้หญิงทาเล็บ ทำไมผู้ชายทำถึงมีปัญหาล่ะ?”
142
คุณนาดาจึงทำการรับเรื่องและโทรติดต่อนักข่าวให้เพื่อเป็นคนกลาง เมื่อติดต่อได้ คุณนาดาจึงถามว่า ในเมื่อเจ้าตัวไม่สะดวกให้สัมภาษณ์ ทำไมจึงต้องข่มขู่ ก่อนจะได้รับคำตอบว่า
143
144
145
146
147
วลีฮิตในคณะ อย่าง ‘No pain, No gain’ ถูกนำมาใช้สร้างความชอบธรรม หรือการอ้าง ‘ประสบการณ์’ ว่าอาจารย์ผ่านมาแล้ว ทำไมคุณทำไม่ได้ เรื่องแค่นี้เอง ทำไมไม่อดทน
148
ชวนอ่านเรื่องราวการถูกกดขี่ทางอัตลักษณ์ที่ทับซ้อนของคุณ ‘นับดาว องค์อภิชาติ’ ผู้หญิงข้ามเพศหูหนวกกับความฝันที่ถูกพับไปเพราะสวัสดิการไม่มี และประสบการณ์การโดนกีดกันทั้งจากสังคมและจากกลุ่ม LGBT+ ด้วยกันเอง ตลอดจนภาพสังคมที่เธออยากจะเห็น
➡️อ่านได้ที่นี่: bit.ly/34kq2X9
149
เดือนนี้คือเดือนแห่งการรำลึกประวัติศาสตร์ของคนที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ+ History Month) เราเลยมาแนะนำหนังสือ ‘Loving: A Photographic History of Men in Love 1850s-1950s’ ซึ่งรวบรวมภาพของคู่รักเกย์ในช่วงกว่าร้อยปีที่ไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน
ดูภาพเพิ่ม: bit.ly/359ROVu
150
เมื่อวันที่ 14 พ.ย. มีงาน #MobFest กับ “การรวมตัวครั้งสำคัญของภาคีนักเรียน นักศึกษา และประชาชนกว่า 20 เครือข่าย ผู้เชื่อใน 3 ข้อเรียกร้องหลัก” โดยให้ร่วมกันแชร์สิ่งที่อยากเห็นในรธน.ใหม่ #แก้ได้ถ้าแก้รัฐธรรมนูญ เราจึงรวบรวมเสียงของคนหลากหลายที่บอกถึงความปรารถนาของพวกเขามาให้ได้ฟัง