151
(1) การเป็น ‘นักฉอด’ หรือ ‘อ้วก’ เป็นสิ่งที่พึงกระทำได้ - แต่ก็ไม่รังสรรค์การขับเคลื่อนสังคม ซ้ำยังเป็นความอุจาดส่งกลิ่นคละคลุ้งทั่วพื้นที่ออนไลน์ (2) เป็นเรื่องที่ดีที่ความคิดในสังคมจะแตกต่างและหลากหลาย-แต่การแตกหน่อนี้ก็ไม่ได้นำไปสู่การขับเคลื่อนสังคมแต่อย่างใด และ
152
ทุกคนสามารถอ้วกได้โดยไม่ต้องมานั่งคิดว่าจะมีใครคอยสำรวจเป็นตำรวจตรวจคุณภาพอ้วก เพราะท้ายที่สุด สิ่งที่สำคัญจริงๆ ก็คือ ‘สาเหตุที่อ้วก’ ไม่ใช่ ‘รสชาติอ้วก’ เหมือนที่ใครกล่าวอ้างแต่อย่างใด
154
155
156
SEX EDUCATION: “ทำไมเราถึงไม่ได้อยู่ในเพศศึกษาของคุณ” “นักเรียนข้ามเพศไม่ควรถูกลบหาย” นี่คือข้อความจากการประท้วงเพื่อสิทธิของทรานส์โดยกลุ่มนักเรียน ม.ปลายสิงคโปร์ที่หน้ากระทรวงศึกษาธิการเมื่อวันก่อน (26 ม.ค. 2021) #FixSchoolsNotStudents
157
159
พม่ายังไม่มีสมรสเท่าเทียม - ในปี 2014 ‘Tin Ko Ko’ กับ ‘Myo Min Htet’ คู่รักเพศเดียวกันชาวพม่าจัดงานแต่งงานขึ้น เป็นที่ฮือฮามากในสื่อจนทำให้กลุ่มอนุรักษ์นิยมพม่าจำนวนมากออกมาต่อต้าน และตั้งคำถามถึงว่าทำไมไม่มีการบังคับใช้กฎหมายต่อต้านการรักเพศเดียวกันกับพวกเขา
160
161
162
163
การล้อเลียนเรื่องขนาดอวัยวะเพศไม่ใช่เรื่องตลก เพราะบางครั้งอาจทำให้คนที่โดนล้อเกิดความวิตกกังวล จนถึงขั้นมีความคิดอยากฆ่าตัวตายเนื่องจากความภาคภูมิใจของตัวเองต่ำเลยก็ได้ จนเกิดเป็นอาการที่ว่าเรียกว่า ‘Small Penis Syndrome’ หรือสภาวะวิตกกังวลจากขนาดอวัยวะเพศชายของตัวเอง
164
165
167
นี่คือเสียงของ ‘Kate Huang’ - พนักงานฝ่ายการตลาดอาวุโสประจำแบรนด์ผ้าอนามัยแบบสอด (Tampon) ชื่อดังในสหรัฐอเมริกา ‘Callaly’ ที่ทำแคมเปญ “People Have Period.” หรือ “ผู้คนก็มีประจำเดือน” เพื่อจุดประเด็นให้ทุกคนหันมาใส่ใจว่าการมีประจำเดือนนั้น ไม่ได้ถูกจำกัดแค่ในร่างกายของผู้หญิ
168
ไม่ใช่แค่ผู้หญิงเท่านั้นที่มีประจำเดือน ผู้ชายก็มีประจำเดือนด้วย เพราะผู้ชายข้ามเพศก็คือผู้ชายคนหนึ่ง!
169
“หนึ่งในลูกค้าแรกๆ ของเราเลยก็คือ ผู้ชาย และในฐานะของการเป็นแบรนด์ พวกเราก็ถือว่านี่คือความรับผิดชอบของเราที่จะต้องกระจาย (ข้อเท็จจริง) ข้อนี้เช่นเดียวกัน”
170
“ความโล่งใจจากการเป็นประจำเดือนอันสุดแสนจะประณีต” (Sophisticated Menstrual Relief) นี่คือหนึ่งในคำชื่นชมต่อแคมเปญนี้ มาพร้อมคำชมอื่นๆ มากมายจากผู้คน
171
หนึ่งคำชมที่น่าสนใจก็เช่น “นี่คือหนึ่งในแคมเปญทางด้านร่างกายที่ดีที่สุดที่ชี้ให้เห็นว่า ประจำเดือนไม่ใช่แค่เรื่องของเพศใดเพศหนึ่ง เพราะร่างกายกับเพศภาวะ (Gender) เป็นเรื่องที่แยกขาดจากกันได้นั่นเอง”
172
อย่างไรก็ตาม แคมเปญนี้ดูจะไม่ได้เป็นที่ถูกใจทุกคนนัก เพจ ‘Sheologians’ - เพจที่รวบรวมนักอนุรักษ์นิยมสมัยใหม่ได้ออกมาโจมตีแคมเปญดังกล่าวอย่างดุเดือดเช่นกัน “นี่คือความเกลียดชังต่อการสร้างผู้หญิง (โดยพระเจ้า)”
173
โดยให้เหตุผลว่า การเป็นประจำเดือนนั้นสื่อถึงการมีมดลูกของผู้หญิงที่เป็นดั่งแหล่งผลิตเผ่าพันธุ์มนุษย์ตามประสงค์ของพระเจ้า ฉะนั้น การกล่าวว่าผู้ชายก็เป็นประจำเดือนได้ถือเป็นการละทิ้งความหมายซึ่งถูกหยิบยื่นโดยพระผู้เป็นเจ้า (God-given meaning) ทั้งสิ้น
174
“I am a 100% a cannibal.”
.
นี่คือหนึ่งประโยคจากแชท #ArmieHammer ที่ถูกปล่อย จุดเริ่มต้นเริ่มมาจาก @/houseofeffie ใน IG ได้ออกมาทำการโพสต์แชทหลุด ซึ่งเนื้อหาในแชทนั้นได้กล่าวถึงความสัมพันธ์แบบนาย-ทาส ที่ไม่มี safe word และยอมรับว่าตัวเองนั้นเป็น ‘มนุษย์กินคน’ (Cannibal) อีกด้วย
175
จากกระแสสองแฮชแท็กดัง #แบนเมียจำเป็น และ #ข่มขืนผ่านจอพอกันที เกิดเป็นการวิพากษ์ไปทั่วถึงละครไทยที่ยังคงมีลักษณะสนับสนุนให้เกิด “วัฒนธรรมการข่มขืน” (Rape Culture) อยู่ วันนี้ เราจะพามาดูต้นเรื่องของดราม่านี้ รวมไปถึงสาเหตุที่ว่า #ทำไมควรเลิกสนับสนุนวัฒนธรรมการข่มขืน อีกด้วย